logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • คำถามที่พบบ่อย
  • สมัครสมาชิก
  • Forgot your password?
ค้นหา
    
ค้นหาบทความ
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • บทความทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ

ประโยชน์ของคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน ตอนที่ 6 สมการ

โดย :
เมขลิน อมรรัตน์
เมื่อ :
วันอังคาร, 02 มีนาคม 2564
Hits
16854

          บทความเรื่องประโยชน์ของคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน ในตอนที่ 6 นี้ ขอนำเสนอเรื่องสมการ ซึ่งเป็นการอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งต่าง ๆ ซึ่งในบางครั้งเราอาจพบกับปัญหาในการหาค่าต่าง ๆ ในความสัมพันธ์นั้น จากตัวแปรที่มีอยู่ สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ สมการเป็นสิ่งที่จะสามารถช่วยให้เราแก้ไขปัญหานั้นได้  

11645 1

ภาพตัวอย่างสมการทางคณิตศาสตร์
ที่มา https://pixabay.com/ , geralt

          ในหลักการทางคณิตศาสตร์ เรามีการเปรียบเทียบระหว่างสิ่งต่าง ๆ ที่จะอธิบายความสัมพันธ์ เช่นการเท่ากัน มากกว่า น้อยกว่า และมีการกำหนดเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์เพื่ออธิบายหรือเปรียบเทียบความสัมพันธ์นั้นได้แก่ เครื่องหมาย “=” เพื่ออธิบายความสัมพันธ์ว่าเท่ากัน เช่น 3=3, x2+3=19 เป็นต้น ความสัมพันธ์นี้เรียกว่า “สมการ”

          สมการมีประโยชน์อย่างมากในการแก้ไขปัญหาความสัมพันธ์ต่าง ๆ และในการเปรียบเทียบซึ่งอาจเกิดได้ในชีวิตประจำวันสิ่งสำคัญที่เราควรรู้จักก็คือ ตัวแปร หรือตัวไม่ทราบค่าที่อาจอยู่ในรูปของตัวอักษรหรือสัญลักณ์ต่าง ๆ ซึ่งเราจะอาศัยการกำหนดสัญลักษณ์นี้มาแก้ไขปัญหาได้ โดยอาศัยความสัมพันจากตัวแปรและเครื่องหมายสมการ “=” เพื่อทำให้เราสามารถหาผลเฉลยของสมการได้

หลักการทั่วไปในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับโจทย์ปัญหาสมการทั่ว ๆ ไป

  1. แปลงโจทย์ปัญหาทั่วๆ ไปให้อยู่ในรูปแบบสัญลักษณ์ โดยกำหนดตัวแปรแทนข้อความที่ยังไม่ทราบค่า

  2. สร้างความสัมพันธ์ระหว่างข้อความด้วยสัญลักษณ์ “=” ซึ่งแปลความหมายได้ว่า เป็นได้ว่า เป็น ,จะได้,ได้,เท่ากับมช,อยู่ เป็นต้น

  3. การแก้สมการแบบง่ายคือการทำให้ตัวเลขอยู่ฝั่งเดียวกับตัวเลข ตัวแปรอยู่ฝั่งเดียวกับตัวแปร โดยตัวเลขกับตัวแปรอยู่ฝั่งตรงข้ามกัน โดยอาศัยการย้ายข้าง จากคุณสมบัติของการเท่ากันในเรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหาร มาใช้ในการแก้สมการ

  4. หาคำตอบของสมการ หรือการหาค่าของตัวแปรซึ่งทำให้สมการนั้นเป็นจริง

ตัวอย่างเกี่ยวกับการคำนวณสมการที่พบได้ในชีวิตประจำวัน

       ต้นกับแตงมีเงินรวมกัน 1,000 บาท ถ้าต้นให้เงินแตงใช้เพิ่มจากเงินของแตงเองอีก 200 บาท เดิมต้นมีเงินมากกว่าแตงอยู่ 400 บาท เดิมแตงมีเงินใช้กี่บาท

       วิธีคิด แปลงโจทย์ปัญหาทั่วๆ ไปให้อยู่ในรูปแบบสัญลักษณ์ โดยกำหนดตัวแปรแทนข้อความที่ยังไม่ทราบค่า ในที่นี้ เราจะกำหนดให้ แตงมีเงินใช้ x บาท

          ดังนั้น เดิมแตงมีเงินใช้ x-200 บาท

          และ เงินของต้นจะมี 1,000 – ( x - 200) บาท หรือ 1,200 – x บาท

          จาก เดิมต้นมีเงินมากกว่าแตงอยู่ 400 บาท

          จะได้สมการคือ (1,200 – x) – (x - 200) = 400

                               1,200 – x – x + 200 = 400

                                          1,400 – 2x  = 400

                                                   – 2x  = 400 - 1,400

                                                        x  = -1,000 / -2

                                                        x  = 500

                   ดังนั้น แตงมีเงินใช้ 500 บาท

          จะเห็นได้ว่า การหาคำตอบหรือผลเฉลยของสมการนั้น ก็คือ การหาค่าของตัวแปรที่เราไม่ทราบค่า โดยใช้ค่าคงที่หรือข้อมูลที่เราทราบค่ามากำหนดประโยคสัญลักษณ์หรือสมการ และแก้สมการโดยการทำให้สมการนั้นเป็นจริงด้วยการจัดรูปแบบให้สมการสมดุลกัน ตัวแปรที่เราต้องการเหลืออยู่เพียง 1 ตัว และอีกข้างหนึ่งของสมการเป็นตัวเลขที่เราต้องการนั่นเอง และนี่ก็คือความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสมการนั่นเอง และอย่าลืมติดตามบทความเรื่องประโยชน์ของคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน ตอนที่ 7 อสมการในบทความต่อไป

แหล่งที่มา

คณิตศาสตร์ในชีวิตประจําวัน  Mathematics for Daily Life .  สืบค้นเมื่อวันที่ 15 เมษายน 2563. จาก https://reg2.crru.ac.th/reg/files/20150929020102_3aa31caba936b876645ada5b607be6ff.pdf

สมการ. สืบค้นเมื่อวันที่ 15 เมษายน 2563. จาก https://math.sut.ac.th/~jessada/DAILY_LIFE/daily_04.pdf

การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว. สืบค้นเมื่อวันที่ 15 เมษายน 2563. จาก www.rsbs.ac.th/workteacher/Jirawan%20Innovation.pdf

หัวเรื่อง และคำสำคัญ
สมการ,คณิตศาสตร์,การเท่ากัน
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
บทความ
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
วันที่เสร็จ
วันจันทร์, 15 มิถุนายน 2563
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
เมขลิน อมรรัตน์
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
คณิตศาสตร์
ระดับชั้น
ม.4
ม.5
ม.6
ช่วงชั้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
บุคคลทั่วไป
  • 11645 ประโยชน์ของคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน ตอนที่ 6 สมการ /article-mathematics/item/11645-6
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    Average rating
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

  • คำที่เกี่ยวข้อง
    การเท่ากัน สมการ คณิตศาสตร์
คุณอาจจะสนใจ
ประโยชน์ของคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน ตอนที่ 8 สถิติ
ประโยชน์ของคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน ตอน...
Hits ฮิต (19191)
ให้คะแนน
มาถึงบทความเรื่องประโยชน์ของคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวันตอนสุดท้ายกันแล้ว ในตอนที่ 8 สถิติ ในตอนสุดท้า ...
คณิตศาสตร์กับการศึกษาโบราณคดี ตอนที่ 2
คณิตศาสตร์กับการศึกษาโบราณคดี ตอนที่ 2
Hits ฮิต (14850)
ให้คะแนน
ในตอนที่แล้ว (คณิตศาสตร์กับการศึกษาโบราณคดี ตอนที่ 1) เราได้เห็นความสำคัญและประโยชน์ในการนำความรู้ท ...
ความสำคัญของการพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
ความสำคัญของการพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
Hits ฮิต (13495)
ให้คะแนน
คณิตศาสตร์เป็นวิชาที่มีความเป็นเหตุและผล และมีหลักการทางความคิดอย่างเป็นระบบ เชื่อว่าผู้อ่านบทความน ...
ค้นหาบทความ
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • บทความทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. Privacy. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)