logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • คำถามที่พบบ่อย
  • สมัครสมาชิก
  • Forgot your password?
ค้นหา
    
ค้นหาบทความ
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • บทความทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ

วันการประมาณค่าพาย (Pi Approximation Day) 

โดย :
IPST Thailand
เมื่อ :
วันอังคาร, 14 กันยายน 2564
Hits
2776

เพื่อน ๆ ทราบหรือไม่ว่า? ตัวอักษรกรีก π (อ่านว่า พาย) ที่เราใช้กันอยู่ในปัจจุบัน เป็นสัญลักษณ์ใช้แทนค่าคงตัวที่หาได้จาก อัตราส่วนของความยาวเส้นรอบวงของวงกลม ต่อความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลมใด ๆ ซึ่งเชื่อกันว่ามนุษย์น่าจะรู้จักค่าคงตัวนี้มาตั้งแต่สมัยอียิปต์โบราณ หรือ ประมาณ 2,550 ปีก่อนคริสตกาล

แต่บุคคลที่เชื่อว่าเป็นผู้ที่คำนวณหาค่าประมาณของ π ได้เป็นคนแรก คือ Archimedes โดยเขาได้ประมาณค่า π จากค่าเฉลี่ยของความยาวรอบรูป n เหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่าที่แนบในวงกลมและแนบนอกวงกลมหนึ่งหน่วย Archimedes พิสูจน์ได้ว่า π มีค่าอยู่ระหว่าง 223/71 และ 22/7 ซึ่งเชื่อว่าเป็นที่มาของการประมาณค่า π ด้วย 22/7 นั่นเอง ต่อมาภายหลังมีผู้พิสูจน์เพิ่มเติมว่า π เป็นจำนวนอตรรกยะ นั่นคือ π เป็นจำนวนที่ไม่สามารถเขียนเป็นเศษส่วนของจำนวนเต็มได้ โดยค่าประมาณของ π ที่มีทศนิยม 20 ตำแหน่ง คือ 3.14159265358979323846 แต่เพื่อความสะดวกในการคำนวณทำให้ยังนิยมใช้ 22/7 ในการประมาณค่า π มาจนถึงปัจจุบัน

12442

 

เรียนรู้เพิ่มเติม เรื่อง การประมาณค่าพาย (π)

1) หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ป.6 เล่ม 2 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
2) สื่อการเรียนรู้ประกอบกิจกรรม “หาค่าประมาณของ π ด้วย GeoGebra” ซึ่งเป็นกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ ม.4 เล่ม 1 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) >> http://goo.gl/6xnUw4
3) สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ Project 14 >> https://youtu.be/9fx8h3Dmzwo?t=1474

ติดตามสาระดี ๆ ได้ที่ Facebook : IPST Thailand

หัวเรื่อง และคำสำคัญ
π, Pi, PiDay, PiApproximationDay, วันการประมาณค่าพาย, พาย, วงกลม, คณิตศาสตร์, Project14,IPST Thailand
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
บทความ
ลิขสิทธิ์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
IPST Thailand
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
คณิตศาสตร์
ระดับชั้น
ม.4
ช่วงชั้น
ประถมศึกษาตอนปลาย
มัธยมศึกษาตอนต้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
บุคคลทั่วไป
  • 12442 วันการประมาณค่าพาย (Pi Approximation Day)  /article-mathematics/item/12442-pi-approximation-day
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    Average rating
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

  • คำที่เกี่ยวข้อง
    Project14 วงกลม พาย วันการประมาณค่าพาย PiApproximationDay PiDay Pi π IPST Thailand คณิตศาสตร์ประถมศึกษา คณิตศาสตร์
คุณอาจจะสนใจ
William Gilbert บิดาแห่งไฟฟ้าและแม่เหล็ก
William Gilbert บิดาแห่งไฟฟ้าและแม่เหล็ก
Hits ฮิต (4069)
ให้คะแนน
William Gilbert นักวิทยาศาสตร์และแพทย์ชาวอังกฤษที่ได้รับการยกย่องว่าเป็น “บิดาแห่งไฟฟ้าและแม่เหล็ก” ...
เรื่องไม่ลับเกี่ยวกับวันสายฟ้าฟาด เปรี้ยง!!
เรื่องไม่ลับเกี่ยวกับวันสายฟ้าฟาด เปรี้ย...
Hits ฮิต (17576)
ให้คะแนน
เรื่องไม่ลับเกี่ยวกับวันสายฟ้าฟาด เปรี้ยง!! นานมาแล้วมนุษย์เคยเชื่อกันว่าปรากฏการณ์ธรรมชาติต่างๆ ล้ ...
ความสำคัญของการพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
ความสำคัญของการพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
Hits ฮิต (13569)
ให้คะแนน
คณิตศาสตร์เป็นวิชาที่มีความเป็นเหตุและผล และมีหลักการทางความคิดอย่างเป็นระบบ เชื่อว่าผู้อ่านบทความน ...
ค้นหาบทความ
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • บทความทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. Privacy. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)