logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • คำถามที่พบบ่อย
  • สมัครสมาชิก
  • Forgot your password?
ค้นหา
    
ค้นหาบทความ
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • บทความทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ

Gregor Mendel บิดาแห่งพันธุศาสตร์

โดย :
IPST Thailand
เมื่อ :
วันพุธ, 21 กรกฎาคม 2564
Hits
78041

1

เกรกอร์ เมนเดล (Gregor Mendel) บิดาแห่งพันธุศาสตร์ ผู้ค้นพบหลักการพื้นฐานของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม เขาเป็นทั้งนักบวช ครู และนักวิทยาศาสตร์ผู้หลงไหลในธรรมชาติ ด้วยความอยากรู้และอยากทำความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมมชาติว่า “สิ่งมีชีวิตสามารถถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากรุ่นสู่รุ่นได้อย่างไร”

2

 เมนเดลจึงสร้างแปลงทดลองทางพฤกษศาสตร์ขึ้นภายในลานวัดที่เขาบวชอยู่นั่นเอง ความพยายามกว่า 8 ปี จากการทดลองผสมพันธุ์ถั่วลันเตาหลายพันครั้ง ทำให้เมนเดลเกิดความเข้าใจและเสนอหลักการพื้นฐานทางพันธุศาสตร์ 2 ข้อ ได้แก่ 

  • กฎข้อที่ 1 กฎการแยก (Law of Segregation)
  • กฎข้อที่ 2 กฎการรวมกลุ่มอย่างอิสระ (Law of Independent Assortment)

3

หลักการนี้ทำให้อธิบายได้ว่า ลักษณะต่างๆ จะถูกถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่งได้อย่างไร แล้วทำไมบางลักษณะจึงสามารถหายไปในบางรุ่นและกลับมาปรากฏได้อีกในรุ่นถัดไป

การค้นพบของเมนเดลในครั้งนี้ ส่งผลให้เกิดความก้าวหน้าด้านพันธุศาสตร์ตามมาอีกมากมาย เช่น การสร้างสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม GMOs (genetically modified organisms) เทคโนโลยีการวิเคราะห์ลำดับเบสของยีน (gene sequencing) การเพิ่มปริมาณยีน (gene cloning) การสร้าง DNA ติดตาม (DNA probe) การสร้างยีนกลายพันธุ์ (in vitro mutagenesis) การบ่งชี้ตำแหน่งกลายพันธุ์บนยีน (point mutations and deletions) และอีกมากมาย การปฏิวัติทางพันธุกรรม (genetic revolution) เหล่านี้ เปรียบเสมือนคลื่นยักษ์ที่ส่งผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของทุกสิ่งมีชีวิตบนโลกอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้


4

เรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ “พันธุศาสตร์ของเมนเดล” 

1) Project 14

2) หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย ชีววิทยา ม.4 เล่ม 2 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

3) หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ม.4 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

ติดตามสาระดี ๆ ได้ที่ Facebook : IPST Thailand

หัวเรื่อง และคำสำคัญ
เมนเดล, Mendel, บิดาแห่งพันธุศาสตร์, พันธุศาสตร์, พันธุกรรม, การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม, genetic, กฎการแยก, กฎการรวมกลุ่มอย่างอิสระ, ชีววิทยา,IPST Thailand
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
บทความ
ลิขสิทธิ์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
IPST Thailand
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
ชีววิทยา
ระดับชั้น
ม.4
ช่วงชั้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
บุคคลทั่วไป
  • 12403 Gregor Mendel บิดาแห่งพันธุศาสตร์ /article-biology/item/12403-gregor-mendel
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    Average rating
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

  • คำที่เกี่ยวข้อง
    กฎการรวมกลุ่มอย่างอิสระ genetic พันธุกรรม บิดาแห่งพันธุศาสตร์ IPST Thailand การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม mendel พันธุศาสตร์ เมนเดล กฎการแยก ชีววิทยา
คุณอาจจะสนใจ
เห็ดหลินจือ สมุนไพรยอดแห่งการปรับสมดุลร่างกาย
เห็ดหลินจือ สมุนไพรยอดแห่งการปรับสมดุลร่...
Hits ฮิต (37965)
ให้คะแนน
ในงานมหกรรมสมุนไพรแห่งชาติ ครั้งที่ 12 เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่ ...
วันการประมาณค่าพาย (Pi Approximation Day) 
วันการประมาณค่าพาย (Pi Approximation Day...
Hits ฮิต (2734)
ให้คะแนน
เพื่อน ๆ ทราบหรือไม่ว่า? ตัวอักษรกรีก π (อ่านว่า พาย) ที่เราใช้กันอยู่ในปัจจุบัน เป็นสัญลักษณ์ใช้แท ...
เตาแม่เหล็กไฟฟ้าเหนี่ยวนำ
เตาแม่เหล็กไฟฟ้าเหนี่ยวนำ
Hits ฮิต (7213)
ให้คะแนน
เพื่อน ๆ ที่มีเตาแม่เหล็กไฟฟ้าเหนี่ยวนำอยู่ที่บ้าน เคยสงสัยกันรึเปล่าว่า เตาแม่เหล็กไฟฟ้าเหนี่ยวนำท ...
ค้นหาบทความ
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • บทความทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. Privacy. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)