logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • คำถามที่พบบ่อย
  • สมัครสมาชิก
  • Forgot your password?
ค้นหา
    
ค้นหาบทความ
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • บทความทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ

เรื่องไม่ลับเกี่ยวกับวันสายฟ้าฟาด เปรี้ยง!!

โดย :
IPST Thailand
เมื่อ :
วันศุกร์, 19 มิถุนายน 2563
Hits
16727

11620 01

เรื่องไม่ลับเกี่ยวกับวันสายฟ้าฟาด เปรี้ยง!!

นานมาแล้วมนุษย์เคยเชื่อกันว่าปรากฏการณ์ธรรมชาติต่างๆ ล้วนเกิดจากเทพเจ้าบันดาลให้เป็นไป ถ้ามนุษย์ทำดีโลกก็สงบสุข แต่ถ้าทำชั่วโลกก็จะเกิดภัยพิบัติรุนแรง

“ฟ้าผ่า” คือบทลงโทษจากฟากฟ้าที่ในอดีตได้คร่าชีวิตผู้คนไปไม่น้อย เอาหละ!! เลิกงมงายได้แล้ว เพราะเรื่องเหล่านี้วิทยาศาสตร์มีคำตอบ 

- ฟ้าแลบ VS ฟ้าผ่า
- สายล่อฟ้าคืออะไร
- รับมืออย่างไรในวันฝนฟ้าคะนอง 


ฟ้าผ่า VS ฟ้าแลบ

เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดจากการเสียดสีกันระหว่างโมเลกุลของน้ำและอากาศที่เคลื่อนที่ในก้อนเมฆ เมื่อก้อนเมฆมีประจุไฟฟ้ามากพอ จะถ่ายโอนประจุไฟฟ้าไปยังบริเวณอื่น ทำให้ประจุจำนวนมากเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วสูงผ่านอากาศ เกิดความร้อนและแสงสว่างตามเส้นทางที่ประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ ถ้าเป็นการถ่ายโอนประจุระหว่างก้อนเมฆกับพื้นดิน จะเรียกปรากฎการณ์ดังกล่าวว่า ฟ้าผ่า แต่ถ้าเป็นการถ่ายโอนประจุระหว่างก้อนเมฆกับก้อนเมฆ จะเรียกว่า ฟ้าแลบ

11620 02

 

สายล่อฟ้าคืออะไร

สายล่อฟ้า (lightning rod) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า ซึ่งจะติดตั้งบริเวณยอดของตึกหรือสิ่งก่อสร้างที่มีความสูงกว่าบริเวณรอบ ๆ โดยจะมีสายไฟโยงจากสายล่อฟ้าไปยังพื้นดิน เมื่อมีประจุไฟฟ้าจำนวนมากในก้อนเมฆที่ลอยอยู่ใกล้ ๆ ตึกหรือสิ่งก่อสร้าง จะเกิดการถ่ายโอนประจุจากก้อนเมฆมายังพื้นดินผ่านสายล่อฟ้า ทำให้ไม่เกิดฟ้าผ่าอาคารที่มีสายล่อฟ้า และช่วยลดประจุไฟฟ้าในบรรยากาศโดยรอบด้วย

11620 03


รับมืออย่างไรในวันฝนฟ้าคะนอง

11620 04

 

ติดตามสาระดี ๆ ได้ที่ Facebook : IPST Thailand

อ้างอิง

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) เรื่อง กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ

หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 4 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) เรื่อง ไฟฟ้าสถิต

 



หัวเรื่อง และคำสำคัญ
ฟ้าแลบ, ฟ้าร้อง, ฟ้าผ่า, สายล่อฟ้า,IPST Thailand
ประเภท
Text
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
IPST Thailand
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
ฟิสิกส์
ระดับชั้น
ม.1
ม.2
ม.3
ม.4
ม.5
ม.6
ช่วงชั้น
มัธยมศึกษาตอนต้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
บุคคลทั่วไป
  • 11620 เรื่องไม่ลับเกี่ยวกับวันสายฟ้าฟาด เปรี้ยง!! /article-physics/item/11620-2020-06-19-04-14-05
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    Average rating
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

  • คำที่เกี่ยวข้อง
    สายล่อฟ้า ฟ้าผ่า ฟ้าร้อง ฟ้าแลบ IPST Thailand
คุณอาจจะสนใจ
มาเสริมความรู้ให้ “สมอง” ด้วยเรื่อง “สมอง” กันเถอะ
มาเสริมความรู้ให้ “สมอง” ด้วยเรื่อง “สมอ...
Hits ฮิต (3124)
ให้คะแนน
สมองอยู่ภายในกะโหลกศีรษะ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบประสาทส่วนกลางในร่างกาย มีน้ำหนักประมาณ 1.3 - 1.4 ...
อุณหภูมิในหน่วย “เคลวิน”
อุณหภูมิในหน่วย “เคลวิน”
Hits ฮิต (2072)
ให้คะแนน
วันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2367 เป็นวันคล้ายวันเกิดของ William Thomson, 1st Baron Kelvin นักฟิสิกส์และ ...
สีพลุปีใหม่
สีพลุปีใหม่
Hits ฮิต (689)
ให้คะแนน
เทศกาลปีใหม่ถือเป็นงานเฉลิมฉลองวันแห่งความสุขสุดยิ่งใหญ่ นอกจากกิจกรรมการแสดงและร้านค้าขายของต่าง ๆ ...
ค้นหาบทความ
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • บทความทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. Privacy. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)