logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
Login
Login / Register
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
Login
Login / Register
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
Login
Login / Register
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
ค้นหา
    
ค้นหาบทความ
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • บทความทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ
  • หน้าแรก
  • บทความ
  • เทคโนโลยี
  • สงครามเย็นทางเทคโนโลยี ตอนที่ 2

สงครามเย็นทางเทคโนโลยี ตอนที่ 2

โดย :
สุภัตรา ทรัพย์อุปการ
เมื่อ :
วันพฤหัสบดี, 20 มิถุนายน 2562
Hits
12751

          เราได้ทำความรู้จักกับสงครามเย็นทางเทคโนโลยีกันมาเบื้องต้นแล้วในตอนที่ 1  สำหรับตอนที่ 2 นี้ เราจะมาดูกันว่า อาวุธและกลยุทธ์สำคัญสำหรับการทำสงครามเย็นทางเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นจริงในโลกของเรา เกิดอะไรขึ้นบ้างติดตามอ่านกันได้เลยในตอนสุดท้ายนี้

9840 1

ภาพ การแข่งขันทางเทคโนโลยี
ที่มา https://pixabay.com , Mediamodifier

ย้อนความหลัง

          ชี้ชัดแต่ขอไม่เอ่ยนามแล้วกันว่า ตัวอย่างที่หยิบหยกมาเป็นประเด็นตัวอย่างนี้ เกิดขึ้นจริงระหว่างผู้ประกอบการในประเทศมหาอำนาจทางเทคโนโลยีจากฝั่งตะวันออก กับประเทศมหาอำนาจจากฝั่งตะวันตก การท้าทายเริ่มต้นขึ้นจากการปล่อยประกาศจากผู้นำจากประเทศฝั่งตะวันออกว่า ตนนั้นต้องการผลักดันให้ประเทศของตนกลายเป็น “Manufacturing Superpower” หรือเป็น “มหาอำนาจสูงสุดแห่งการผลิตสินค้านวัตกรรม” ผ่านผู้ประกอบการรายใหญ่ของแบรนด์ชื่อดัง ซึ่งการประกาศดังกล่าวท้าทายว่า จะเป็นการผูกขาดตลาดด้านเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตในพื้นที่ของฝั่งตรงข้ามอย่างจริงจัง

          แน่นอนว่าคงไม่มีใครจะยอมให้ฝั่งตรงข้ามมาหยามกันง่าย ๆ เช่นนี้ กลยุทธ์ในการหาพวกพ้องในระดับประเทศ ถึงขั้นข้ามประเทศ ข้ามทวีป จึงถือเป็นการตอบโต้ขั้นแรก การหาพวกพ้องเพื่อคว่ำบาตรหรือสกัดกั้นก็ได้ผลเสียด้วย เรียกได้ว่าข้ามทวีปกันเลยทีเดียว กลยุทธ์การเล่นสงครามเย็นของมิตรประเทศของฝั่งตะวันตก ก็ไม่น้อยหน้าเรียกได้ว่าร่วมมือกันทำลายร้างเลยก็ว่าได้ หากจะว่าประเทศมหาอำนาจจากฝั่งตะวันออกถูกรุมก็ไม่อาจปฏิเสธคำกล่าวนี้ได้

          กลยุทธ์ที่มิตรประเทศมหาอำนาจฝั่งตะวันตก ก็เริ่มต้นขึ้นเพื่อแสดงถึงความเป็นพวกพ้อง ด้วยประเทศหนึ่งที่สร้างเหตุการณ์ทำให้เป็นเรื่องเป็นราวจนนำมาซึ่งการสอบสวนครั้งแล้วครั้งเล่า สร้างความน่ารำคาญใจให้กับประเทศมหาอำนาจทางเทคโนโลยีฝั่งตะวันออก  ส่วนอีกประเทศรุนแรงไปถึงขั้นการรวบรัดจับกุมเครือญาติของผู้ประกอบการรายใหญ่จากฝั่งตะวันออกกันแบบไม่ไว้หน้าคาสนามบิน  บางประเทศก็ตรงไปตรงมาตามแนวทางของตนเองโดยจำกัดทางเลือกในการใช้งานเทคโนโลยีนี้ให้น้อยลง ส่วนในประเทศไทยของเรานั้น  ก็อาจเรียกได้ว่ายังไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดอย่างชัดเจนเสียทีเดียว ก็คงต้องมองสถานการณ์และติดตามกันต่อไป   

         ถึงแม้ว่าสงครามเย็นจะเป็นสงครามที่ไม่มีการสู้รบจนเลือดตกยางออก แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าอาจนำมาซึ่งความรุนแรงถึงขั้นสงครามแบบสมบูรณ์แบบก็ว่าได้ ก็เป็นเรื่องที่ต้องจับตาดูกันไปในระยะยาว จะว่าไม่เกี่ยวกับเราก็ไม่ได้ เพราะยังไงเราก็หนีไม่พ้นที่เทคโนโลยีเหล่านี้จะกลายมาเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวันของเรา

แหล่งที่มา

ทับทิม พญาไท .สงครามเย็นทางเทคโนโลยี. สืบค้นเมื่อวันที่  12 กุมภาพันธ์ 2562. จาก https://mgronline.com/daily/detail/9610000117918

ทับทิม พญาไท .ไทยกับสงครามเย็นทางเทคโนโลยี. สืบค้นเมื่อวันที่  12 กุมภาพันธ์ 2562. จาก https://mgronline.com/daily/detail/9620000014576

สงครามเย็น . สืบค้นเมื่อวันที่  12 กุมภาพันธ์ 2562. จาก https:// https://suphannigablog.wordpress.com/หน่วยที่-4/สงครามเย็น/

 

หัวเรื่อง และคำสำคัญ
สงครามเย็น,เทคโนโลยี
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
บทความ
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
วันที่เสร็จ
วันพุธ, 13 กุมภาพันธ์ 2562
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
สุภัตรา ทรัพย์อุปการ
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
เทคโนโลยี
ระดับชั้น
ม.1
ม.2
ม.3
ม.4
ม.5
ม.6
ช่วงชั้น
มัธยมศึกษาตอนต้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
บุคคลทั่วไป
  • 9840 สงครามเย็นทางเทคโนโลยี ตอนที่ 2 /article-technology/item/9840-2019-02-22-01-29-19
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    Average rating
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

คุณอาจจะสนใจ
Maker Faire งานนี้มีดีอะไร
Maker Faire งานนี้มีดีอะไร
Hits ฮิต (13793)
ให้คะแนน
ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา กิจกรรมที่นำแนวคิดความคิดสร้างสรรค์และแก้ปัญหาต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน เช่นการส ...
ปีแห่งสนามรบของ Streaming TV
ปีแห่งสนามรบของ Streaming TV
Hits ฮิต (3702)
ให้คะแนน
หากย้อนกลับไปยุคก่อนหน้านี้ที่อินเทอร์เน็ตยังไม่ได้เข้ามามีอิทธิพลเหมือนในโลกยุคปัจจุบัน การที่เราจ ...
เทคโนโลยีสุดล้ำที่มาพร้อมความอันตราย
เทคโนโลยีสุดล้ำที่มาพร้อมความอันตราย
Hits ฮิต (8982)
ให้คะแนน
ปัจจุบันปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ความก้าวหน้าในการพัฒนาเทคโนโลยีอย่างไม่หยุดยั้งนั้นช่วยทำให้ใช้ชีวิตความ ...
ค้นหาบทความ
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • บทความทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. Privacy. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)