logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • คำถามที่พบบ่อย
  • สมัครสมาชิก
  • Forgot your password?
ค้นหา
    
ค้นหาบทความ
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • บทความทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ

แสงแดด VS ผิวหนัง VS สารกันแดด (Part I)

โดย :
ธัชชัย ตระกูลเลิศยศ
เมื่อ :
วันอังคาร, 06 กันยายน 2559
Hits
28298

แสงแดด VS ผิวหนัง VS สารกันแดด (Part I)

อย่างที่รู้กันว่าประเทศไทยนับเป็นหนึ่งในประเทศเขตร้อน ที่ชาวต่างชาตินิยมมาเที่ยวตามชายหาด หรือชายทะเล และค่านิยมของคนไทยที่อยากจะมีผิวขาวทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ป้องกันแสงแดดนานาชนิด ออกมาวางขายมากมายในตลาด แต่เคยสงสัยไหมว่า แท้จริงแล้วแสงแดดมีผลอย่างไรต่อร่างกายมนุษย์ได้บ้าง และร่างกายมนุษย์ ก็ไม่สามารถขาดแสงแดดได้เช่นกัน

แสงแดดประกอบไปด้วย visible light (แสงที่ตามองเห็นได้) ประกอบด้วนคลื่นแสงสี ม่วง คราม น้ำเงิน เขียว เหลือง แสด แดง นอกจากนี้ในแสงแดดยังมีคลื่นแสง Invisible light (แสงที่ตาไม่สามารถมองเห็น) เช่น รังสีคอสมิค รังสีเอกซ์  คลื่นความร้อนอินฟราเรด คลื่นวิทยุ และที่ขาดไม่ได้ Ultraviolet light หรือ UV ที่เราต่างคุ้นหูกันดีนี่เอง  แสงเหล่านี้มีผลต่อร่างกามนุษย์ในหลายๆทาง ทั้งที่เกิดประโยชน์และทั้งที่เกิดโทษ ส่วนที่เป็นประโยชน์ เช่น ทำให้มีแสงสว่างให้มนุษย์สามารถมองเห็นได้ ทำให้พืชมีการสังเคราะห์แสงให้พืชเติมโตและหลายเป็นแหล่งพลังงานของสิ่งมีชีวิต ทำให้มีความอบอุ่น ฆ่าเชื้อโรค และยังนำมารักษาโรคได้อีกด้วย สำหรับโทษของแสงแดดต่อร่างกายมักเกี่ยวข้องกับแสง Ultraviolet light ส่วนแสงสว่างและคลื่นอินฟราเรดในแสงแดดมักไม่มีผลต่อร่างกายเท่าใดนัก  ยกเว้นจะได้รับแสงในคลื่นแสงดังกล่าวมากเกินผิดปรกติ จึงอาจก่อให้เกิดโทษได้ในบางครั้ง

มาดูกันว่า แสง UV หรือ Ultraviolet light ที่เรากลัวกันนักหนานั้น มีผลเสียต่อผิวหนังอย่างไรได้บ้าง

  1. ผลที่เกิดขึ้นได้ภายในระยะสั้นๆ ได้แก่ ผิวหนังไหม้จากแสงแดด , ผิวหนังมีสีคล้ำลง เนื่องมาจากมีการกระตุ้นการสร้างเม็ดสีเมลานินที่ผิวหนัง
  2. ผดที่เกิดขึ้นตามมาเมื่อโดนแสงแดดซ้ำๆในระยะยาว ก็จะทำให้ผิวหนังเสื่อมหรือผิวหนังแก่เร็ว เช่นทำให้เกิดริ้วรอยย่น ผิวหนังกำพร้าบางลง เส้นเลือดขยาย เกิดรอยฝ้าตกกระ เป็นต้น หากสังเกตที่ตัวเรา  จะเห็นได้ว่าผิวหนังบริเวณนอกร่มผ้ามีความหยาบ ย่น และความผิดปรกติของสีผิวเกิดขึ้นมากกว่าในร่มผ้า
  3. มีความเสี่ยงสำหรับการเกิดเนื้องอกผิวหนังและมะเร็งผิวหนัง
  4. ทำให้เกิดความผิดปรกติของระบบภูมิต้านทาน
  5. ทำให้เกิดต้อเนื้อและต้อกระจกที่ตา
  6. ในบางรายอาจเกิดโรคแพ้แสงแดด เช่น โรดลูปัส หรือโรคแพ้แสงแดดที่เป็นพันธุกรรมเป็นต้น

 

แสง UV นี้ถูกแบ่งออกเป็น 3 โซนด้วยกัน ประกอบด้วย UVC ( ช่วงคลื่นความยาวระหว่าง 200-290 nm) , UVB ( ช่วงคลื่นความยาวระหว่าง 290-320 nm) และ UVA ( ช่วงคลื่นความยาวระหว่าง 320-400 nm) แต่เนื่องจากคลื่นความยาวของแสงที่มาถึงพื้นโลกได้จะมีค่าคลื่นความยาวมากกว่า 290 nm ดังนั้น สิ่งที่พวกเรามักจะเจอกันบ่อย หรือได้ยินในโฆษณา หรือเห็นในป้ายผลิตภัณฑ์ป้องกันแสงแดดจะเป็นในส่วนของ UVB และ UVA เสียส่วนใหญ่ แต่อันที่จริงแล้วในบริเวณยอดเขาสูง ก็อาจพบ UVC ได้เช่นกัน เนื่องจากปรกติ UVC จะถูกดูดซับโดยชั้นโอโซนในบรรยากาศ แต่ในปัจจุบัน มีการใช้สาร chlorofluorocarbons , halons , nitric oxide , carbon tetrachloride , และ methyl chloroform ในอุตสาหรรมส่วนใหญ่ โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับ อุตสาหกรรมเครื่องทำความเย็น  โฟมที่ใช้เป็นฉนวน และตัวทำลาย รวมถึงยาฆ่าแมลงที่มีสาร methyl bromide ได้ทำลายโอโซนในชั้นบรรยากาศ จึงทำให้ความสามารถในการดูดซับแสง UV ในบรรยากาศลดลง ทำให้เราได้รับปริมาณแสง UV มากขึ้น


แล้วผลกระทบของแสง UV จะมีผลมากน้อยเพียงใดต่อผิวหนังมีปัจจัยอะไรบ้าง ?

  1. ระยะเวลาและความถี่ที่ผิวหนังต้องเจอกับแสงแดด
  2. ความเข้มข้นของแสง ซึ่งความเข้มข้นของแสงขึ้นอยู่กับช่วงเวลา และตำแหน่งของผิวโลก เช่น ช่วงสายถึงบ่ายต้นๆ จะมีความเข้มข้นของแสงสูง  หรือประเทศที่ตั้งอยู่ในบริเวณเส้นศูนย์สูตรจะมีความเข้มข้นของแสงสูงกว่าบริเวณอื่น
  3. พันธุกรรม และสีผิว ในคนผิวคล้ำจะมีเมลานินซึ่งเป็นตัวดูดซับแสง UV ป้องกันการเกิดอันตรายต่อเซลล์ผิวหนังได้ดีกว่าคนผิวขาว

 

 

เนื้อหาจาก

http://www.webmd.com/beauty/sun/sun-exposure-skin-cancer

http://www.brecosmeticlab.com/newslet/51/04_apr/007_uv_effect.html

https://www.doctor.or.th/article/detail/1632

http://www.inderm.go.th/Health/health_21.htm

http://www.skincancer.org/prevention/sun-protection/sunscreen

ภาพจาก

http://www.gettyimages.com

https://sundicators.com/2016/05/important-protect-your-skin-from-sun/

https://en.wikipedia.org/wiki/Ozone_layer
หัวเรื่อง และคำสำคัญ
แสง,แดด,ผิวหนัง,สาร
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
บทความ
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วันที่เสร็จ
วันอังคาร, 06 กันยายน 2559
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
ธัชชัย ตระกูลเลิศยศ
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
วิทยาศาสตร์ทั่วไป
ระดับชั้น
ม.1
ม.2
ม.3
ม.4
ม.5
ม.6
ช่วงชั้น
มัธยมศึกษาตอนต้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
บุคคลทั่วไป
  • 4825 แสงแดด VS ผิวหนัง VS สารกันแดด (Part I) /article-biology/item/4825-vs-vs-part-i
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    Average rating
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

ค้นหาบทความ
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • บทความทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. Privacy. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)