logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • คำถามที่พบบ่อย
  • สมัครสมาชิก
  • Forgot your password?
ค้นหา
    
ค้นหาบทเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • บทเรียนทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ

กฎของฟาราเดย์

โดย :
วีทิต วรรณเลิศลักษณ์
เมื่อ :
วันอาทิตย์, 11 มิถุนายน 2560
Hits
190923

ไมเคิล ฟาราเดย์ เป็นนักเคมีและนักฟิสิกส์ ชาวอังกฤษ เป็นผู้คิดค้นไดนาโมในปี ค.ศ. 1821 เขายังเป็นคนชอบอ่านหนังสือ ศึกษาหาความรู้โดยเฉพาะเรื่องของไฟฟ้า

แรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนำภายในวงปิด เกิดจากการเปลี่ยนแปลงฟลักซ์ สนามแม่เหล็กที่ผ่านพื้นที่ ที่ล้อมรอบด้วยวงปิดนั้น เราเห็นได้จากวงลวดต่อกับแอมมิเตอร์ ในรูป (a) เมื่อแท่งแม่เหล็กเคลื่อนที่เข้าหาวงขดลวดเข็มของแอมมิเตอร์จะเบนไปในทิศทางหนึ่ง และ ในรูป (c) เมื่อแท่งแม่เหล็กเคลื่อนออกจากวงขดลวด เข็มของแอมมิเตอร์อมิเตอร์จะเบนไปในทิศทางตรงข้าม แต่ ในรูป (b) เมื่อถือแท่งแม่เหล็กนิ่งๆ พบว่าไม่มีการเบนของเข็ม ผลเหล่านี้แสดงให้เห็นความจริงที่ว่ามีกระแสเกิดขึ้นโดยไม่ต้องมีการต่อแบตเตอรีได้ เรียกกระแสที่เกิดด้วยวิธีนี้ว่า กระแสเหนี่ยวนำ ตามกฎของฟาราเดย์ กล่าวว่า “ในวงปิดใดๆ จะมีแรงเคล่อืนไฟฟ้าเหนี่ยวนำเกิดขึ้นเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงฟลักซ์แม่เหล็กที่ผ่านวงจรปิดนั้น”

1) เมื่อขนาดของสนามแม่เหล็กเปลี่ยนไปกับเวลา

2) เมื่อขนาดของพื้นที่เปลี่ยนไปกับเวลา

3) มุมระหว่างสนามแม่เหล็กกับเวกเตอร์พื้นที่เปลี่ยนไปกับเวลา

แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนาที่เกิดจากการเคลื่อนที่ Motional emf

เมื่อแท่งตัวนาวิ่งในสนามแม่เหล็ก อิเล็กตรอนอิสระใน ตัวนาจะถูกแรงแม่เหล็กกระทา เกิดการเคลื่อนที่ของ อิเล็กตรอนไปออกันที่ปลายด้านหนึ่งของแท่งตัวนานั้น ดังรูป

ตัวอย่าง

ขดลวดจำนวน 200 รอบ พันรอบโครงสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวด้านละ 18 ซ.ม. แต่ละรอบของขดลวดมีพื้นที่เท่ากัน ความต้านทานทั้งหมด 2.0 Ω เมื่อป้อนสนามแม่เหล็กในทิศตั้งฉากกับขดลวด ถ้าสนามมีการเปลี่ยนแปลงอย่างเชิงเส้นจาก 0 ถึง 0.5 Wb/m2ในเวลา 0.8 s จงหาขนาดของ emf ที่เกิดขึ้น

กฎของแอมแปร์-แมกซ์เวล

แอมแปร์เกิดเมื่อวันที่ 22 มกราคม ค.ศ. 1775 ที่เมือง โปลีมีเยอร์ ประเทศฝรั่งเศส บิดาของเขาเป็นพ่อค้าที่มีฐานะดีพอสมควร ซึ่งเป็นโอกาสที่ดีทำให้แอมแปร์ได้รับการศึกษาที่ดีแอมแปร์มีความสนใจเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์อย่างมาก โดยเฉพาะคณิตศาสตร์ เขามีความสนใจมากเป็นพิเศษจนมีความชำนาญในวิชา Differential Calculus ในขณะที่เขามีอายุเพียง 12 ปี เท่านั้นและในปี ค.ศ. 1793 เขาได้รับการยกย่องในฐานะนักคณิตศาสตร์ผู้มีความสามารถคนหนึ่งของฝรั่งเศสเลยทีเดียว ในปี ค.ศ. 1974 เกิดการปฏิวัติใหญ่ในฝรั่งเศส ฝ่ายปฏิวัติต้องการโค่นล้มสถาบันพระมหากษัตริย์ และสามารถทำการได้สำเร็จ ฝ่ายปฏิวัติมีคำสั่งให้สังหารคนที่ต้องสงสัยว่าเป็นฝ่ายกษัตริย์เป็นจำนวนมาก รวมถึงพ่อของแอมแปร์ด้วย หลังจากที่พ่อของเขาถูกประหารด้วยเครื่องกิโยตีน (Guillotine) ทำให้เขาเศร้าโศกเสียใจมากและต้องลาออกจากโรงเรียน แอมแปร์ได้เข้าทำงานเป็นครูสอนหนังสือในโรงเรียนแห่งหนึ่ง ต่อจากนั้นได้เข้าทำงานเป็นครูสอนวิชาคณิตศาสตร์ และดาราศาสตร์ชั้นมัธยม ที่เมืองลีอองส์ (Lyons) หลังจากนั้นอีก 2 ปีเขาได้รับเชิญให้เป็นศาสตราจารย์สอนวิชา Analytical Calculus และกลศาสตร์ที่โรงเรียนโปลีเทคนิคแห่งฝรั่งเศส (Polytechnic School of France)

กฎของแอมแปร์

กฎของแอมแปร์ใช้ในการคำนวนหาสนามแม่เหล็ก เนื่องจากเส้นลวดยาวอนันต์และขดลวดที่มีกระแสไหลผ่านมีลักษณะและแนวคิดคล้ายกฎของเกาส์ที่ใช้หาสนามไฟฟ้า กล่าวคือ ผลรวมของสนามแม่เหล็กรอบเส้นทางปิด จะมีปริมาณรวมที่สัมพันธ์กับ กระแสไฟฟ้าที่ก่อให้เกิดสนามแม่หล็กนั้นๆ เขียนเป็นรูปสมการได้ดังนี้

กฎของแอมแปร์ใช้ได้เมื่อกระแสคงที่ และมีสมมาตรในระบบสูง

สนามแม่เหล็กของเส้นลวดที่ยาวอนันต์

จากภาพจะเห็นว่าเมื่อลวดตัวนำไม่มีกระแสไหลผ่าน สนามแม่เหล็กจะเป็นศูนย์ แต่เมื่อลวดตัวนำมีกระแสไหลผ่าน ก็จะเกิดการเหนี่ยวนำให้เกิดสนามแม่เหล็กรอบๆลวดตัวนำ ซึ่งจะสามารถคำนวนได้จากกฎของแอมแปร์ เริ่มต้นจากการสร้างเส้นทางปิดสมมติ เป็นวงกลมรัศมี r พิจารณาสนามแม่เหล็กว่ามีทิศเดียวกับเวกเตอร์ ตลอดเส้นทางปิด

∴ สนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นจากกระแสนี้ ที่ภายในขดลวด และภายนอกขดลวดมีความสัมพันธ์กับระยะห่างจากจุดศูนย์กลางของเส้นลวดดังภาพ

สนามแม่เหล็กของขดลวดโซลินอยด์

ขดลวดโซลินอยด์คือขดลวดตัวนำที่พันกันเป็นรูปเกลียว การพันลวดเป็นรูปนี้ก่อให้เกิดสนามแม่เหล็กความเข้มข้นสูงภายในขดลวด โดยสนามแม่เหล็กคือผลรวมเวกเตอร์ของสนามแม่เหล็กย่อยๆ ของแต่ละเกลี่ยวเข้าด้วยกันทั้งหมด ภาพแสดงเส้นแรงสนามแม่เหล็กภายในขดลวดโซลินอยมีลักษณะค่อนข้างเป็นเส้นตรงและสม่ำเสมอ

แรงที่กระทำระหว่างลวดตัวนำสองเส้น

เมื่อลวดตัวนำสองเส้นที่มีกระแสI1และI2สนามแม่เหล็ก จากเส้นที่หนึ่งจะทำให้เกิดแรงบนเส้นลวดเส้นที่สอง และในทางกลับกันก็คือ สนามแม่เหล็ก จากเส้นที่สองจะทำให้เกิดแรงบนเส้นลวดเส้นที่หนึ่ง เราสามารถคำนวนแรงที่เกิดขึ้นกับเส้นสวดทั้งสองในกรณีนี้ได้ โดยเริ่มต้นจากการหาค่าสนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นและนำไปคำนวนหาแรงที่กระทำกับเส้นลวดอีกเส้น

กฎของแอมแปร์ในรูปทั่วไปและกระแสกระจัด

พิจารณาแผ่นเก็บประจุรูปจานสองแผ่นดังภาพ ในขณะเก็บประจุไม่มีกระแสไหลผ่านจากแผ่นบวกไปยังแผ่นลบ แต่มีฟลักซ์ไฟฟ้าที่ผ่านพื้นที่หน้าตัด A เท่ากับ

จากการคำนวนสนามไฟฟ้าเนื่องจากแผ่นเก็บประจุคู่ขนาน

แทนค่าสนามไฟฟ้าลงในสมการฟลักซ์ไฟฟ้า

ย้ายข้างหาค่าประจุ และอัตราการเปลี่ยนแปลงประจุโดยการหาอนุพันธ์

กระแสไฟฟ้า หรือ การเปลี่ยนแปลงฟลักซ์ไฟฟ้าทำให้เกิดสนามแม่เหล็ก

หัวเรื่อง และคำสำคัญ
กฎของฟาราเดย์,กฎของแอมแปร์,การคำนวนหาสนามแม่เหล็ก
ประเภท
Text
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
วันที่เสร็จ
วันอาทิตย์, 11 มิถุนายน 2560
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
วีทิต วรรณเลิศลักษณ์
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
ฟิสิกส์
ระดับชั้น
ม.4
ม.5
ม.6
ช่วงชั้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
  • 7238 กฎของฟาราเดย์ /lesson-physics/item/7238-2017-06-11-14-17-45
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    Average rating
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

ค้นหาบทเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • บทเรียนทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. Privacy. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)