logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
Login
Login / Register
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
Login
Login / Register
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
Login
Login / Register
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
ค้นหา
    

ค้นหาบทเรียน

กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • บทเรียนทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ
  • หน้าแรก
  • บทเรียน
  • ฟิสิกส์
  • การประยุกต์ใช้กฎของโอหม์ (Ohm’s Law)

การประยุกต์ใช้กฎของโอหม์ (Ohm’s Law)

โดย :
วีทิต วรรณเลิศลักษณ์
เมื่อ :
วันอาทิตย์, 11 มิถุนายน 2560
Hits
26484

กฎข้อแรก ๆ ที่นักฟิสิกส์อิเล็กโทรนิกส์ หรือผู้สนใจในด้านอิเล็กโทรนิกส์ จะต้องเข้าใจมันก็คือ กฎของโอหม์ ในทางไฟฟ้านั้น กฎของโอหม์มีคำอธิบายสั้น ๆ ง่าย ๆ ว่า กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวกลางใด ๆ แปรผันตามความต่างศักดิ์ไฟฟ้า

ในปีค.ศ.1827 นักฟิสิกส์ชาวเยอร์มันชื่อนาย จอร์จ โอห์ม ได้ทดลองที่ผ่านไฟฟ้าลวดโลหะความยาวแตกต่างกัน โอห์ม พบว่ากระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวกลางใดๆ แปรผันตามความต่างศักดิ์ไฟฟ้า

โดยที่ แทนค่าของกระแสไฟฟ้ามีหน่วยเป็นแอมแปร (A) และ แทนค่าของความต่างศักดิ์มีหน่วยเป็นโวลท์ (V) ซึ่งในเวลาต่อมาเขาได้พบว่าค่าคงที่ในสมการนั้น เป็นส่วนกลับของความยาวเส้นลวด ซึ่งต่อมาเรียกว่าค่าความต้านทางทางไฟฟ้า

โดยที่ แทนค่าความต้านทางทางไฟฟ้ามีหน่วยเป็นโอห์ม (Ω) เรามักจะคุ้นเคยกับสูตรการคำนวน

อุปกรณ์สร้างความต้านทานทางไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า อาจจะดูแตกต่างกันไปบ้างแล้วแต่วัตถุประสงค์การใช้งานแต่ทุกชนิดก็จะทำงานภายใต้ความสัมพันธ์เดียวกันคือ สมการกฎของโอห์ม

ตัวอย่างการใช้งานกฎของโอห์ม

กฎของโอหม์ (Ohm’s Law) ยังเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการออกแบบและทำความเข้าใจวงจรไฟฟ้าแบบต่างๆ


การเชื่อมต่ออุปกรณ์ในวงจรไฟฟ้าในแบบอนุกรม

ในการเชื่อมต่ออุปกรณ์ในวงจรไฟฟ้าในแบบอนุกรม กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านอุปกรณ์ทุกๆตัว และเนื่องจากกระแสไฟฟ้าไม่ได้แยกไหลอุปกรณ์ทุกชิ้นจะมีกระแสไฟฟ้าปริมาณเท่าๆกันไหลผ่าน

การเชื่อมต่ออุปกรณ์ในวงจรไฟฟ้าในแบบขนาน

ในการเชื่อมต่ออุปกรณ์ในวงจรไฟฟ้าในแบบขนาน กระแสไฟฟ้าแยกไหลไปยังอุปกรณ์แต่ละตัว และเนื่องจากกระแสไฟฟ้าแยกไหล ดังนั้นอุปกรณ์แต่ละชิ้นอาจจะมีกระแสไฟฟ้าปริมาณไม่เท่ากันไหลผ่านก็ได้การเชื่อมต่ออุปกรณ์ในวงจรไฟฟ้าในแบบผสม

ในการเชื่อมต่ออุปกรณ์ในวงจรไฟฟ้าในแบบผสม กระแสไฟฟ้าแยกไหลไปตามลักษณะของการต่ออุปกรณ์โดยจะต้องมีการพิจารณาไปตามเส้นทางของตัวนำสำหรับวิธีการคำนวนหาค่าของความต้านทานรวม นั้นแบ่งออกได้ตามวิธีการต่อตัวต้านทานเข้าด้วยกัน

การเชื่อมต่อตัวต้านทานในแบบอนุกรม

 

ความต้านทานรวมในแบบอนุกรมจะมีค่าเท่ากับผลรวมของค่าคว่ามต้านทานที่อนุกรมกัน

 

การเชื่อมต่อตัวต้านทานในแบบขนาน

ความต้านทานรวมในแบบขนานจะมีค่าเท่ากับผลรวมของส่วนกลับค่าคว่ามต้านทานที่ขนานกัน

การเชื่อมต่อตัวต้านทานในแบบผสม

ความต้านทานรวมจะต้องถูกแยกคิดออกไปตามลักษณะของการเชื่อมต่อย่อยๆ


หัวเรื่อง และคำสำคัญ
กฎของโอหม์,Ohm’s Law,การประยุกต์ใช้กฎของโอหม์ ,ความต่างศักดิ์ไฟฟ้า
ประเภท
Text
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
วันที่เสร็จ
วันอาทิตย์, 11 มิถุนายน 2560
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
วีทิต วรรณเลิศลักษณ์
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
ฟิสิกส์
ระดับชั้น
ม.4
ม.5
ม.6
ช่วงชั้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
  • 7234 การประยุกต์ใช้กฎของโอหม์ (Ohm’s Law) /lesson-physics/item/7234-ohm-s-law
    คลิ๊กเพื่อติดตาม
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    คะแนนเฉลี่ย
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

คุณอาจจะสนใจ
Recently added
  • e-poster ปรากฏการณ์เรือนกระจกของโลก...
  • มาทำความรู้จักกับ Beacon Technology เทคโนโลยีแห่งอนาคต...
  • สิ่งที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตและการดำรงชีวิตของมนุษย์และสัตว์...
  • วัฏจักรการปรากฏของดาว...
  • พิท แพท ผจญภัย...
อ่านต่อ..

ค้นหาบทเรียน

กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • บทเรียนทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)