Table of Contents Table of Contents
Previous Page  136 / 284 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 136 / 284 Next Page
Page Background

สารตั้งต้นและตัวยับยั้งของเอนไซม์ dihydropteroate synthase และ acetylcholinesterase

มีโครงสร้างดังแสดงในตาราง ตัวยับยั้งเอนไซม์แต่ละชนิด น่าจะเป็นตัวยับยั้งเอนไซม์แบบใด

เอนไซม์

สารตั้งต้น

ตัวยับยั้งเอนไซม์

dihydropteroate

synthase

ρ

-aminobenzoic acid

COOH

NH

2

sulfanilamide

SO

2

NH

2

NH

2

acetylcholinesterase

acetylcholine

N

+

O

H

3

C

H

3

C

CH

3

CH

3

O

tacrine

NH

2

N

จากโครงสร้างของ sulfanilamide จะเห็นว่ามีลักษณะคล้ายกับ p-aminobenzoic acid ที่เป็น

สารตั้งต้นของเอนไซม์ dihydropteroate synthase จึงเป็นไปได้ว่า sulfanilamide จะแย่งจับ

กับบริเวณเร่งของเอนไซม์ จึงจัดว่า sulfanilamide เป็นตัวยับยั้งเอนไซม์แบบแข่งขัน ส่วน

tacrine มีโครงสร้างที่แตกต่างจาก acetylcholine ที่เป็นสารตั้งต้นของเอนไซม์

acetylcholinesterase ดังนั้น tacrine จึงน่าจะจับกับบริเวณอื่นที่ไม่ใช่บริเวณเร่ง จึงจัดว่า

tacrine เป็นตัวยับยั้งเอนไซม์แบบไม่แข่งขัน

หลังจากนักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับเอนไซม์และการทำ�งานของเอนไซม์แล้ว ครูอาจนำ�เข้าสู่เรื่อง

ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการทำ�งานของเอนไซม์ โดยอาจยกตัวอย่างเกี่ยวกับการถนอมอาหาร

โดยใช้ความเย็น และอาจให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่า

เพราะเหตุใดการใช้ความเย็นจึงช่วยรักษา

สภาพของผลไม้และอาหารสดได้

ซึ่งควรมีแนวคำ�ตอบว่าเกี่ยวข้องกับอุณหภูมิซึ่งอาจมีผลต่อ

การยับยั้งการทำ�งานของเอนไซม์ทั้งในจุลินทรีย์ ในผลไม้ และในอาหารสดเหล่านั้น จากนั้นให้นักเรียน

ทำ�กิจกรรม 2.3 และกิจกรรมเสนอแนะ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 2 | เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต

ชีววิทยา เล่ม 1

124