logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • คำถามที่พบบ่อย
  • สมัครสมาชิก
  • Forgot your password?
ค้นหา
    
ค้นหาบทความ
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • บทความทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ

สังเกตเมฆ

โดย :
จิราภรณ์ ปกรณ์
เมื่อ :
วันจันทร์, 06 พฤศจิกายน 2560
Hits
41086

         หลายคนคงคุ้นเคยกับการมองก้อนเมฆ ที่เปลี่ยนแปลงรูปร่างไปต่าง ๆ นานา และเราก็ยังสังเกตบรรดาก้อนเมฆอันอ่อนนุ่มนั้น  ด้วยการดูสีของเมฆ ที่ลอยรวมตัวกันอยู่บนท้องฟ้า  ว่าเป็นอย่างไร 

เมฆเกิดจากอะไร

        ก่อนอื่นต้องรู้จักที่ไปที่มาของก้อนเมฆที่เราเห็นอยู่บนท้องฟ้ากันก่อน น้ำจากแหล่งธรรมชาติบนพื้นดิน เป็นจุดเริ่มต้นของมวลเมฆขนาดใหญ่  เมื่อได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์ ก็จะระเหยกลายเป็นไอน้ำลอยอยู่บนอากาศ และเมื่อไอน้ำเกิดการควบแน่นเป็นละอองน้ำหรือเกล็ดน้ำแข็ง การเกาะตัวเป็นกลุ่มในลักษณะแบบนี้ เราเรียกมันว่า เมฆ 

7574 1

ภาพที่ 1 ก้อนเมฆบนท้องฟ้า
ที่มา : Sipa https://pixabay.com/th

 สีและลักษณะของก้อนเมฆ

          เคยสังเกตไหมว่า ทำไมเมื่อเรามองไปบนท้องฟ้า กลุ่มเมฆที่ล่องลอยอยู่ในอากาศมีสีสันแตกต่างกันไป ก็เนื่องจากว่าความหนาแน่นของกลุ่มไอน้ำหรือเมฆบริเวณนั้น ว่ามีความหนาแน่นมากน้อยเพียงใด ถ้าหนาแน่นมาก แสงผ่านไม่ได้ จะมองเห็นเป็นกลุ่มสีเทาไปจนถึงสีดำ ถ้าหนาแน่นน้อย เราจะมองเห็นเมฆเหล่านั้นเป็นสีขาว  สีของเมฆสามารถสื่อสารหรือบ่งบอกให้เราทราบได้ว่า มีปรากฏการณ์ที่กำลังเกิดขึ้นในชั้นบรรยากาศ หรือสภาพทางอากาศที่กำลังจะเกิดขึ้น  เช่น เมฆที่มีสีเขียว หรือสีเทาเกือบดำ นั้นบ่งบอกถึงการก่อตัวของพายุฝน  หรือเมฆสีแดงส้มในช่วงพระอาทิตย์ขึ้น และพระอาทิตย์ตก จากการกระเจิงของแสงในชั้นบรรยากาศ

           เมฆสามารถแบ่งตามรูปร่างลักษณะและระดับความสูงเหนือพื้นดินของฐานเมฆ โดยทั่ว ๆ ไปดังนี้

                   เมฆชั้นต่ำ               เหนือพื้นดินไม่เกิน 2 กิโลเมตร ไม่มีน้ำแข็งมีแต่ไอน้ำ แต่เมื่อใดที่ไอน้ำรวมกลุ่มกันมีความหนาแน่นจำนวนมาก ก็จะตกลงมาเป็นฝน

                   เมฆชั้นกลาง           สูงตั้งแต่ 2-6 กิโลเมตร มี เมื่อมีความหนาแน่นของน้ำแข็งและไอน้ำรวมกันจำนวนมาก ก็จะตกลงมาเป็นฝน 

                   เมฆชั้นสูง               สูงตั้งแต่ 6 กิโลเมตร ขึ้นไป  ส่วนใหญ่จะเป็นน้ำแข็ง เพราะความสูงระดับนั้นอากาศจะเย็นจัดต่ำกว่าจุดเยื่อกแข็ง

7541 2

         เราคงพอสังเกตก้อนเมฆที่ลอยอยู่บนท้องฟ้ากันได้บ้างแล้ว ว่าเมฆชนิดไหนทำให้เกิดฝนพรำหรือทำฝนตกหนัก ฉะนั้นก่อนออกจากบ้านครั้งต่อไปก็อย่าลืมพยากรณ์อากาศกันเสียหน่อย จะได้เตรียมพร้อมรับมือกับฝนฟ้าในแต่ละวันได้ทันเวลาไงล่ะ

แหล่งที่มา

ทำความรู้จัก เมฆ ชนิดของเมฆ สิ่งสวยงามบนท้องฟ้าดีกว่า.  สืบค้นเมื่อ 2 ตุลาคม 2560, จาก
          http://oknation.nationtv.tv/blog/zestzpim/2008/02/01/entry-3

มารู้จักชนิดของเมฆกันเถอะ. สืบค้นเมื่อ 2 ตุลาคม 2560, จาก
           http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9510000025613

 

หัวเรื่อง และคำสำคัญ
ก้อนเมฆ,ละอองน้ำ ,น้ำ ,อากาศ, ความชื้น, ฝนตก, ไอน้ำ, อุณหภูมิ,ร้อน, ลอย,เย็น, กลั่นตัว ,หยดน้ำ, ระเหย, ควบแน่น
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
บทความ
ลิขสิทธิ์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
จิราภรณ์ ปกรณ์
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
วิทยาศาสตร์ทั่วไป
ระดับชั้น
ม.1
ม.2
ม.3
ม.4
ม.5
ม.6
ช่วงชั้น
มัธยมศึกษาตอนต้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
บุคคลทั่วไป
  • 7574 สังเกตเมฆ /article-science/item/7574-2017-10-17-02-04-19
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    Average rating
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

ค้นหาบทความ
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • บทความทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. Privacy. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)