logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
ค้นหา
    
ค้นหาบทความ
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • บทความทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ

ซามูเอล มอร์ส ผู้พัฒนาโทรเลขไฟฟ้าและรหัสมอร์ส

โดย :
นิโลบล คำคง
เมื่อ :
วันศุกร์, 02 กรกฎาคม 2564
Hits
2310

รหัสมอร์ส (Morse code) เป็นการส่งข้อความด้วยสัญญาณ สั้น-ยาว ในรูปของสัญลักษณ์หรือเสียง แทนตัวอักษรต่างๆ ที่กำหนดไว้เป็นสากล ถูกคิดค้นขึ้นโดย ซามูเอล มอร์ส (Samuel Morse) นักวาดภาพและนักประดิษฐ์ชาวอเมริกัน

ที่ผ่านมารหัสมอร์สถูกใช้ในระบบโทรเลขเพื่อการสื่อสารระยะไกลแทนข้อความหรือตัวอักษร แต่ในหมู่ผู้ปฏิบัติงานจริงในพื้นที่เสี่ยง อาจใช้รหัสมอร์สเพื่อส่งข่าวสารในยามคับขันด้วยวิธีการอื่นๆ เช่น ไฟกะพริบ การเคาะจังหวะ หรือแม้แต่การกะพริบตา

ในประเทศไทย เริ่มใช้รหัสมอร์สในสมัยรัชกาลที่ 5 เข้ามาพร้อมการนำระบบโทรเลขสื่อสารเข้ามาใช้ในประเทศไทย โดยระยะแรกเป็นการแปลรหัสมอร์สเป็นตัวอักษรภาษาอังกฤษและโรมัน ทำให้การส่งข้อความภาษาไทยเกิดความล่าช้าและผิดพลาดบ่อยครั้ง ต่อมาจึงได้มีการคิดค้นรหัสมอร์สภาษาไทยขึ้นและใช้กันแพร่หลายต่อมา

แม้ว่าปัจจุบันการสื่อสารในรูปแบบโทรเลขจะไม่เป็นที่นิยมแล้ว แต่ก็ยังมีการใช้งานรหัสมอร์สอยู่มากในวงการวิทยุสมัครเล่น

ข้อดีสำคัญของการติดต่อผ่านวิทยุสื่อสารด้วยรหัสมอร์ส คือ ใช้แถบความถี่น้อยมากเมื่อเทียบกับการสื่อสารระบบอื่นๆ เป็นการประหยัดความถี่ และสามารถใช้งานพร้อมๆ กันได้โดยไม่มีการรบกวนสัญญาณกัน

ติดตามสาระดี ๆ ได้ที่ Facebook : IPST Thailand


MORSE CODE

ร่วมสนุก

เพื่อน ๆ ลองมารู้จักและใช้รหัสมอร์ส โดยพิมพ์ชื่อเล่น (ภาษาอังกฤษ) ตามด้วยชื่อเล่นในรูปของรหัสมอร์สกัน

ตัวอย่างเช่น

IPST = .. .–. … –

Thailand = – …. .- .. .-.. .- -. -..

ปล. อย่าลืมเว้นวรรคระหว่าง code แต่ละตัวด้วยนะ

หัวเรื่อง และคำสำคัญ
รหัสมอส, โทรเลขไฟฟ้า, MorseCode, SamuelMorse, โทรเลข, วิทยุสมัครเล่น
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
บทความ
ลิขสิทธิ์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
วิทยาศาสตร์ทั่วไป
ระดับชั้น
ม.1
ม.2
ม.3
ม.4
ม.5
ม.6
ช่วงชั้น
มัธยมศึกษาตอนต้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
บุคคลทั่วไป
  • 12229 ซามูเอล มอร์ส ผู้พัฒนาโทรเลขไฟฟ้าและรหัสมอร์ส /article-physics/item/12229-2021-05-24-07-49-39
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    Average rating
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

คุณอาจจะสนใจ
การผายลมขณะผ่าตัดทำให้เกิดไฟไหม้
การผายลมขณะผ่าตัดทำให้เกิดไฟไหม้
Hits ฮิต (18548)
ให้คะแนน
ความหวังในการรักษาด้วยการผ่าตัด นอกเหนือจากการหายจากอาการเจ็บป่วยแล้วก็คงจะเป็นเรื่องของรอยแผลเป็น ...
แบตเตอรี่ลิเทียมไอออนกับยานยนต์ไฟฟ้า
แบตเตอรี่ลิเทียมไอออนกับยานยนต์ไฟฟ้า
Hits ฮิต (39851)
ให้คะแนน
ปัจจุบันเทคโนโลยีถูกพัฒนาขึ้นอย่างต่อเนื่องเพื่อตอบสนองกับความต้องการของคนรุ่นใหม่ในยุคดิจิตอล และเ ...
ปรากฏการณ์ คนไฟลุก
ปรากฏการณ์ คนไฟลุก
Hits ฮิต (33230)
ให้คะแนน
ปรากฏการณ์ คนไฟลุก คุณรู้จัก ปรากฏการณ์ “คนไฟลุก” กันหรือไม่ ? หากย้อนกลับไปเมื่อวันที่ 11 กันยายน ...
ค้นหาบทความ
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • บทความทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ

SciMath ใช้คุกกี้ เพื่อจัดการข้อมูลส่วนบุคคล และพัฒนาประสบการณ์การใช้งานให้กับผู้ใช้
ข้อตกลงและเงื่อนไขการใช้งาน และ นโยบายความเป็นส่วนตัว

ตกลง
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. Privacy. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)