logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
ค้นหา
    
ค้นหาบทความ
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • บทความทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ

การนำเสนอข้อมูลประสิทธิภาพของ Rapid Antigen Test

โดย :
IPST Thailand
เมื่อ :
วันอังคาร, 14 กันยายน 2564
Hits
873

Rapid Antigen Test เป็นชุดตรวจหาเชื้อไวรัสที่ใช้ในการตรวจคัดกรองผู้ติดเชื้อโควิด-19 โดยเก็บตัวอย่างจากทางจมูกลึกถึงคอหรือเก็บจากลำคอ สามารถทราบผลได้ภายใน 30 นาที การตรวจด้วยวิธีนี้ถึงแม้ว่าผลตรวจจะเป็นลบ (negative) ก็ไม่ได้แปลว่าไม่ติดเชื้อ แต่เชื้ออาจจะมีปริมาณน้อยและตรวจไม่พบ หรือเรียกว่าผลลบปลอม (false negative) ถ้าผลเป็นบวก (positive) ก็อาจเป็นผลบวกปลอม (false positive) หรือไม่ได้ติดเชื้อจริงได้เช่นกัน ทั้งนี้จึงต้องมีการตรวจซ้ำด้วยวิธี RT-PCR อีกครั้งเพื่อความมั่นใจ

จากข้อมูลประสิทธิภาพของ Rapid Antigen Test ยี่ห้อหนึ่ง

01

ข้อมูลข้างต้นอาจดูค่อนข้างซับซ้อนและต้องใช้เวลาในการทำความเข้าใจ เนื่องจากอยู่ในรูปแบบของข้อความ ดังนั้น เราอาจนำความรู้ทางคณิตศาสตร์มาช่วยในการนำเสนอข้อมูลดังกล่าวให้ดูง่ายขึ้นได้ เช่น อาจนำเสนอด้วยตารางความถี่ได้ดังนี้

02

หรืออาจนำเสนอข้อมูลดังกล่าวด้วยแผนภูมิแท่งส่วนประกอบได้ดังนี้

03

จะเห็นว่าความรู้คณิตศาสตร์เรื่องการนำเสนอข้อมูลสามารถนำมาช่วยในการจัดระเบียบข้อมูล ทำให้สังเกตลักษณะของข้อมูล และเปรียบเทียบสัดส่วนของจำนวนในแต่ละส่วนได้ง่ายขึ้น ทำให้เห็นได้ชัดว่าในกรณีที่ใช้ชุดตรวจกับผู้ที่ไม่มีอาการ จะเกิดผลบวกปลอมได้มาก ในขณะที่ผลลบปลอมมีสัดส่วนค่อนข้างน้อย และไม่ค่อยเปลี่ยนแปลงไม่ว่าจะใช้ชุดตรวจกับผู้มีอาการเข้าเกณฑ์หรือไม่มีอาการ

ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ Project14

  • https://proj14.ipst.ac.th/m4-6-math-basic/m6-math-basic
  • https://proj14.ipst.ac.th/m4-6-math-adv/m6-math-adv-book2 

กดดาวน์โหลดภาพอินโฟกราฟิก

ติดตามสาระดี ๆ ได้ที่ Facebook : IPST Thailand

อ้างอิง

  • หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้น ม.6 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
  • หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร์ ชั้น ม.6 เล่ม 2 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
  • https://www.cochrane.org/CD013705/INFECTN_how-accurate-are-rapid-tests-diagnosing-covid-19
หัวเรื่อง และคำสำคัญ
คณิตศาสตร์, การนำเสนอข้อมูล, RapidAntigenTest, Covid-19, ชุดตรวจหาเชื้อไวรัส,IPST Thailand
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
บทความ
ลิขสิทธิ์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
IPST Thailand
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
คณิตศาสตร์
ระดับชั้น
ม.6
ช่วงชั้น
มัธยมศึกษาตอนต้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
บุคคลทั่วไป
  • 12443 การนำเสนอข้อมูลประสิทธิภาพของ Rapid Antigen Test /article-mathematics/item/12443-rapid-antigen-test
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    Average rating
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

  • คำที่เกี่ยวข้อง
    ชุดตรวจหาเชื้อไวรัส Covid-19 RapidAntigenTest การนำเสนอข้อมูล IPST Thailand คณิตศาสตร์ประถมศึกษา คณิตศาสตร์
คุณอาจจะสนใจ
โรค เอสบีเอส(SBS) ของคนเมืองยุคใหม่
โรค เอสบีเอส(SBS) ของคนเมืองยุคใหม่
Hits ฮิต (20912)
ให้คะแนน
โรค เอสบีเอส(SBS) ของคนเมืองยุคใหม่ สุนทร ตรีนันทวัน การดำรงชีวิตของคนเราในยุคปัจจุบันหรือยุคใหม่ โ ...
โคนมแสดงพฤติกรรมใดเมื่อถูกรบกวน?
โคนมแสดงพฤติกรรมใดเมื่อถูกรบกวน?
Hits ฮิต (15814)
ให้คะแนน
โคนมมีพฤติกรรมการตอบสนองต่อแมลงวันคอกสัตว์ โดยพฤติกรรมการตอบสนองของโคนมโฮลสไตน์ฟรีเชียนต่อแมลงวันคอ ...
ไวรัสกับแบคทีเรียใครร้ายกว่ากันนะ?
ไวรัสกับแบคทีเรียใครร้ายกว่ากันนะ?
Hits ฮิต (35747)
ให้คะแนน
การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ขณะนี้ อย่างน้อยก็ทำให้เราสนใจอ่านบทความหรือฟังเรื่องราว ...
ค้นหาบทความ
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • บทความทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ

SciMath ใช้คุกกี้ เพื่อจัดการข้อมูลส่วนบุคคล และพัฒนาประสบการณ์การใช้งานให้กับผู้ใช้
ข้อตกลงและเงื่อนไขการใช้งาน และ นโยบายความเป็นส่วนตัว

ตกลง
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. Privacy. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)