logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • คำถามที่พบบ่อย
  • สมัครสมาชิก
  • Forgot your password?
ค้นหา
    
ค้นหาบทความ
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • บทความทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ

เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับความลึกของท้องทะเล ตอนที่ 1

โดย :
สุภัตรา ทรัพย์อุปการ
เมื่อ :
วันพฤหัสบดี, 17 มกราคม 2562
Hits
19627

        เคยสงสัยกันบ้างไหมว่า ใต้ท้องทะเลอันสวยงามที่เรามองเห็น เบื้องลึกใต้ท้องสมุทรนี้มีอะไรกันบ้างที่น่าสนใจ เรียนรู้และค้นหาไปด้วยกันได้เลย

9083 1
ภาพ ลักษณะความลึกของทะเล
ที่มา http://www.marine.tmd.go.th/thai/oceanhtml/oceandoc.html

         เป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่ามหาสมุทรหรือที่พวกเราอาจจะเรียกกันแบบความเข้าใจง่าย ๆ ว่าทะเล ก็คือโครงสร้างของเปลือกโลกที่มีลักษณะทางธรรมชาติคล้ายกับแอ่งน้ำขนาดใหญ่ มีน้ำปกคลุมอยู่ มีเนื้อที่กว่างใหญ่ไพศาล ราวประมาณร้อยละ 71 ของเปลือกโลกเลยทีเดียว เรามักเรียกขอบของมหาสมุทรกันว่าทะเล หรืออ่าว ก็แล้วแต่ลักษณะทางภูมิประเทศนั้น ๆ

        เราเรียกผิวหน้าของน้ำทะเลมหาสมุทรว่า ระดับน้ำทะเล ระดับน้ำทะเลสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามการเปลี่ยนแปลงจากเปลือกโลกก็ได้ หรือที่เรารู้จักกันดีคือ น้ำขึ้นน้ำลง ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงในลักษณะเพียงชั่วคราว หรืออาจเกิดจากกฝนตกมากผิดปกติ หรือมีลมพัดมาเหนือน้ำทะเล พื้นท้องมหาสมุทรซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโลกนั้น การที่มีน้ำขังอยู่ได้เพราะส่วนนี้อยู่ไกล้จุดศูนย์กลางของโลกมากกว่าส่วนที่เป็นพื้นดินที่อยู่ติดต่อกัน ทะเลมหาสมุทรมีความลึกโดยเฉลี่ยประมาณ 3.7 กิโลเมตร (12,450 ฟุต หรือ 2.36 ไมล์ แต่ส่วนใหญ่ลึกกว่านี้ประมาณ 4.7 กิโลเมตร ( 3 ไมล์ ) หรือมากกว่านั้น และยังมีส่วนที่ลึกมากกว่านี้ คือลึกถึง 9.5 กิโลเมตร ( 6 ไมล์ ) ที่ด้านตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งถือกันว่าเป็นตอนที่ลึกที่สุดของทะเลมหาสมุทรทั้งหมด มีชื่อเรียกว่า ร่องลึกบาดาลมาเรียน่านั้นลึกถึง 10.692 กิโลเมตร ( 35,640 ฟุต)

         ซึ่งสามารถแบ่งลักษณะความลึกของทะเลออกเป็นส่วน ได้ดังนี้

ไหล่ทวีป

      ส่วนนี้เป็นส่วนที่ตื้นที่สุด พื้นของไหล่ทวีปบางตอนจะเรียบ บางตอนมีร่องยาว บางตอนมีสันเนิน บางตอนมีแอ่งกลม บางตอนมีเนินเขา บางส่วนเป็นหิน บางส่วนปกคลุมด้วยโคลน ทราย และกรวด ไหล่ทวีป มักเป็นส่วนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลกของเปลือกโลก ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงแบบกรรมวิธีปรับระดับ ไหล่ทวีปจะมีระดับสูงขึ้นและมีขนาดกว้างออกไป เพราะมีวัตถุต่าง ๆ จากพื้นดินมาทับถมอยู่ ซึ่งเป็นผลมาจากการพัดพาของวัตุที่มาจากแม่น้ำ

ลาดทวีป

       เป็นส่วนถัดไปจากไหล่ทวีป บางช่วงมีหุบเขาลึกขั้นอยู่ตรงกลางระหว่างหุบผาชันใต้ทะเล ก้นหุบผาชันใต้ทะเลส่วนใหญ่มีความลึก 1,800-2,000 เมตร ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล

พื้นท้องมหาสมุทร

       เป็นส่วนที่เป็นตอนกลางของมหาสมุทร เป็นส่วนที่มีลักษณะสูงต่ำ คือส่วนที่เป็นสันเขา มีลักษณะแคบบ้าง กว้างบ้าง เป็นช่วงแตกต่างกันไป นอกจากนี้ยังมีลักษณะเป็นที่ราบสูง แอ่งรูปกลม แอ่งรูปยาว ภูเขา เช่น สันเขามิดแอตแลนติก ซึ่งทอดจากไอซ์แลนด์ลงมาเกือบถึงทวีปแอนตาร์กติค บางตอนสูงขึ้นมาเหนือน้ำเป็นเกาะ เช่น หมู่เกาะอะซอร์ส และเกาะเล็ก ๆ อื่น ๆ ส่วนใหญ่อยู่ใต้ระดับน้ำทะเลคือหมู่เกาะฮาวาย สันเขาแห่งนี้ยาวประมาณ 720 กิโลเมตร อ่าวเม็กซิโก ทะเลแคริบเบียน ทะเลแดง เป็นตัวอย่างของแอ่งลึกบนพื้นท้องมหาสมุทร

       ในตอนนี้เราก็ได้รู้ว่า ความลึกของทะเลเป็นอย่างไร มีลักษณะอย่างไรบ้าง ตอนหน้าเราจะมาดูกันว่า ยังมีอะไรอีกบ้างที่น่ารู้เกี่ยวกับใต้ทะเลลึก รวมถึงมีข้อมูลความลึกเกี่ยวกับท้องทะเลไทยมาให้อ่านกันด้วย

แหล่งที่มา

มหาสมุทร. สืบค้นเมื่อ 11 ตุลาคม 2561. จาก http://www.marine.tmd.go.th/thai/oceanhtml/oceandoc.html

ทะเลลึก. สืบค้นเมื่อ 11 ตุลาคม 2561. จาก https://th.wikipedia.org/wiki/ทะเลลึก

หัวเรื่อง และคำสำคัญ
ความลึก,ทะเล
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
บทความ
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
วันที่เสร็จ
วันศุกร์, 12 ตุลาคม 2561
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
สุภัตรา ทรัพย์อุปการ
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
ระดับชั้น
ม.1
ม.2
ม.3
ม.4
ม.5
ม.6
ช่วงชั้น
มัธยมศึกษาตอนต้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย
  • 9083 เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับความลึกของท้องทะเล ตอนที่ 1 /article-earthscience/item/9083-2018-10-18-07-44-48
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    Average rating
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

ค้นหาบทความ
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • บทความทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. Privacy. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)