logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • คำถามที่พบบ่อย
  • สมัครสมาชิก
  • Forgot your password?
ค้นหา
    
ค้นหาบทความ
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • บทความทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ

กลุ่มรังสีฝุ่นหมอก

โดย :
MyFirstBrain.Com
เมื่อ :
วันจันทร์, 12 กันยายน 2554
Hits
24160

กลุ่มรังสีฝุ่นหมอก


เนบิวล่า หรือ กลุ่มรังสีฝุ่นหมอก (Nebula)
เป็น กลุ่มฝุ่นหมอกมีหลายประเภท ปะปนกับกลุ่มดาวและดาราจักร แต่ละกลุ่มมีขนาดใหญ่มาก รูปแบบไม่ซ้ำกันมีความน่าพิศวง กลุ่มฝุ่นหมอกเหล่านี้ คือแหล่งต้นกำเนิดของดวงดาวใหม่ทั้งหลาย

  • เนบิวล่าแบบแพร่กระจาย (Diffuse Nebula)

การ รวมตัวของกลุ่มฝุ่นหมอกควันที่แพร่กระจายก๊าซเหล่านี้ คือ มวลสสาร (Matter) หากมีความหนาแน่น มีขนาดใหญ่เพียงพอสามารถเป็นแหล่งการกำเนิดดวงดาวได้ ภายในกลุ่มก๊าซเหล่านี้มักมีดวงดาวเกิดใหม่ ความร้อนสูงมากปลดปล่อยพลังงาน ก๊าซมีส่วนประกอบของ Hydrogen ออกมากระทบกลุ่มก๊าซอวกาศเกิดลักษณะเหมือนแสง เรียกว่า Emission Nebula (เนบิวล่าแบบเรืองแสง) ซึ่งเป็นอะตอม และละอองของไอออน (Ionized) จากรังสี Ultraviolet ของดาว

เนื่องจากในจักรวาลอุดมสมบูรณ์ไปด้วย Hydrogen ทั้งหมดผสมรวมใน Nebula โดยสามารถแสดงปฏิกิริยาเป็นสีแดง สีเขียว ด้วยละอองของไอออนที่แพร่กระจาย ด้วยการสะท้อนจาก Oxygen เราจึงเห็นภาพถ่าย Nebula เป็นสีต่างๆ ได้ตามธาตุของกลุ่มฝุ่นหมอกนั้นๆ ถ้าจำนวนรังสี Ultraviolet มีจำนวนมาก บริเวณ Nebula นั้นอาจมีความสว่างไสวมากกว่าดาว บางกลุ่มของดาวความร้อนน้อยกว่ากลุ่มก๊าซอวกาศ ได้รับเพียงผลกระทบสะท้อนแสงจากดาวมองเห็นเป็นแสงสีขาว หรือน้ำเงินอ่อนๆ (Bluish) เรียกว่า Reflection Nebula (เนบิวล่าแบบสะท้อนแสง)



Energized Emission Nebula in Large Magellanic Cloud (LMC) ขนาด 150 ปีแสง
ความร้อนภายในมากกว่า 100,000 องศา จุดขาวเล็กคือ ดาวเกิดใหม่เป็นจำนวนมาก

  • เนบิวล่าคล้ายดาวเคราะห์ (Planetary Nebula)
เป็น การเปล่งและปลดปล่อย แสงจากพลังงานที่เผาไหม้แกนกลางของดาวที่ใกล้หมดลง ที่สุดบริเวณเปลือกของดาวฤกษ์นั้นเต็มไปด้วย มวลของก๊าซพลังงานสูงมองเห็นแสงสว่างรอบๆ ลักษณะแสงที่เกิดขึ้นรอบๆนั้น มีรูปแบบปลดปล่อยออกมาแบบวูบวาวเป็นจังหวะทั้งกลุ่ม ขอบเขตใหญ่โตมาก การปลดปล่อยแสงดังกล่าวนั้น พร้อมการระเบิดพุ่งออกมาด้วยลักษณะเศษซากแตกกระจายคล้ายดาวหางพุ่งกระจายตัว ทุกทิศทาง มีควันเป็นทางยาวหลายไมล์

มองเข้าไปส่วนใน เห็นดวงดาวที่มีความร้อนแสงสว่างโชติช่วงอยู่ใจกลาง แสงที่เห็นเป็นชนิด Ultraviolet จากใจกลางที่เป็นก๊าซเกิดจากละอองสนามแม่เหล็กเกิดขึ้นยาวนานต่อเนื่อง ขึ้นอยู่กับวัตถุดิบที่เหลืออยู่ นานนับหลายพันหลายหมื่นปี หรือมากกว่านั้น เชื่อว่ากาแล็คซี่ทางช้างเผือกมีมากกว่า 10,000 แห่ง



NGC 2440 Planetary Nebula ห่างจากดวงอาทิตย์ 4,000 ปีแสง

** หมายเหตุ Planetary Nebula ไม่ใช่ดาวเคราะห์ นักดาราศาสตร์สมัยโบราณใช้กล้องดูดาวขนาดเล็กสังเกตเห็นแล้วคล้ายดาวเคราะห์ จึงตั้งชื่อดังกล่าว

  • เนบิวล่าสว่างแบบฉับพลัน (Supernova Remnants Nebula)
ดวงดาวในท้องฟ้ามีความใหญ่โตกว่าดวงอาทิตย์อย่างน้อย 3 เท่า ถึงหลายร้อยเท่า หลังจากได้ปลดปล่อยพลังงานหมด จุดสิ้นสุดก็จะกลายเป็น ดาวแคระขาว (White Dwarf) บางทีใกล้ก่อนถึงจุดนี้จะเกิดปฏิกิริยาปะทุแตกกระจายตัวอย่างรุนแรง แสงสว่างระเบิดเพิ่มขึ้นอีก ถึง 10 พันล้านเท่า เมื่อเทียบกับดวงอาทิตย์

การผลักดันจากเปลือกดวงดาวครั้งยิ่งใหญ่มหาศาล เรียกว่า Supernova Type II แต่ในทางกลับกัน หากมวลสสารของดาวแคระขาวลดลงแต่สามารถแตกกระจายได้เช่นกัน เรียกว่า Supernova Type I ทั้ง 2 ประเภทรวม เรียกว่า Supernova Remnants



Supernova Remnants Nebula ระเบิดแตกตัวอย่างรุนแรงใช้เวลายาวนานต่อเนื่องหลายแสนถึงหลายล้านปี (บนซ้าย - ขวา)
ขนาดเส้นผ่าศูนย์ 600 ปีแสง และ 1,500 ปีแสง (ล่างซ้าย) ขนาด 10,000 ปีแสง
เป็นแบบ Supernova Type I (ล่างขวา) ขนาด 13,000 ปีแสง เป็นแบบ Supernova Type II

  • เนบิวล่ามืด (Dark Nebula)
คือกลุ่มก๊าซหมอกหนาทึบ มองเห็นได้เพราะแสงจากวัตถุที่อยู่ด้านหลังของเนบิวล่ามืดนั้นฉายออกมา โดยมีความแตกต่างจากเนบิวล่าอื่นๆ ทั้งหมดในบริเวณเนบิวล่ามืดจะไม่มีแสงจากดวงดาวที่อยู่ใกล้เคียง



Barnard 72 (B72) Dark Nebula ห่างจากดวงอาทิตย์ 650 ปีแสง




ที่มาข้อมูล : http://www.sunflowercosmos.org
หัวเรื่อง และคำสำคัญ
รังสี,ฝุ่น,หมอก
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
บทความ
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
วันที่เสร็จ
วันจันทร์, 12 กันยายน 2554
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
สสวท.
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
ระดับชั้น
ม.1
ม.2
ม.3
ม.4
ม.5
ม.6
ช่วงชั้น
มัธยมศึกษาตอนต้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
บุคคลทั่วไป
  • 2170 กลุ่มรังสีฝุ่นหมอก /article-earthscience/item/2170-radiation-fog-of-dust
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    Average rating
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

ค้นหาบทความ
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • บทความทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. Privacy. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)