logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • คำถามที่พบบ่อย
  • สมัครสมาชิก
  • Forgot your password?
ค้นหา
    
ค้นหาบทความ
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • บทความทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ

วันศารทวิษุวัต

โดย :
สุภัตรา ทรัพย์อุปการ
เมื่อ :
วันพุธ, 26 กุมภาพันธ์ 2563
Hits
31270

          เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2562 ที่ผ่านมา หลายคนคงได้เห็นหรือได้ยินคนพูดถึง “วันศารทวิษุวัต” (สาด-ทะ-วิ-สุ-วัด) หรือ Autumnal Equinox กันอยู่ไม่น้อย ซึ่งก็พอได้ยินก็คงมีความสงสัยและค้นหาในอินเทอร์เน็ตกันทันทีว่า ศารทวิษุวัต คืออะไร หากใครยังไม่ทราบว่าคืออะไร วันนี้ผู้เขียนนำข้อมูลนี้มาฝากให้อ่านกัน

10995 1 

ภาพ Illumination of Earth by Sun on the day of equinox (vernal and autumnal).
ที่มา ดัดแปลงจาก https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Earth-lighting-equinox_EN.png , Blueshade

          โดยปกติแกนโลกที่เอียงทำมุม 23.5 องศากับแนวตั้งฉากกับระนาบโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรี ซึ่งในระยะเวลา 1 ปี ที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ จะเกิดปรากฏการณ์สำคัญที่เกี่ยวข้องกับการขึ้น-ตกของดวงอาทิตย์ ด้วยกัน 4 ปรากฏการณ์คือ วันวสันตวิษุวัต (วะ-สัน-ตะ-วิ-สุ-วัด) (Vernal Equinox), วันครีษมายัน  (ครีด-สะ-มา-ยัน) (Summer Solstice) , วันศารทวิษุวัต (สาด-ทะ-วิ-สุ-วัด) (Autumnal Equinox) และ วันเหมายัน (เห-มา-ยัน) (Winter Solstice) ซึ่งก็คือความรู้ความเข้าใจเดียวกันเกี่ยวกับการเกิดฤดูกาลนั่งเองดังนี้

          การเกิดฤดูกาลต่างๆในโลกเรานี้ สามารถสังเกตได้จากการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ เนื่องจากวงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์นั้นไม่ได้เป็นวงกลมพอดี ประกอบกับการที่โลกหมุนรอบตัวเองและแกนโลกเอียงเล็กน้อย ทำให้เกิดฤดูกาลต่างๆขึ้น ตลอดเวลาที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ โลกเคลื่อนที่ไปก็เอียงไปด้วย โดยจะหันขั้วโลกเหนือและใต้เข้าหาดวงอาทิตย์สลับกัน ทำให้พลังงานความร้อน จากดวงอาทิตย์ที่ตกลงบนผิวพื้นโลกในรอบปี ในแต่ละพื้นที่ไม่เท่าเทียมกัน ขั้วโลกที่หันเข้าหาดวงอาทิตย์จะได้รับพลังงานความร้อน จากดวงอาทิตย์มากกว่า จะเป็นฤดูร้อน ส่วนขั้วโลกที่หันออกจากดวงอาทิตย์ จะได้รับพลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์น้อยกว่า จะเป็นฤดูหนาว

          ลักษณะสำคัญของวันศารทวิษุวัตคือ ดวงอาทิตย์จะขึ้นทางทิศตะวันออกและตกทางทิศตะวันตกพอดี ส่งผลให้เวลากลางวันเท่ากับกลางคืน ประเทศทางซีกโลกเหนือย่างเข้าสู่ฤดูใบไม้ร่วง ส่วนซีกโลกใต้เข้าสู่ฤดูใบไม้ผลิ หลังจากวันนี้ดวงอาทิตย์จะเคลื่อนลงทางใต้เรื่อย ๆ จนถึงช่วงวันที่ 22 ธันวาคม  จากนั้นจะเคลื่อนกลับทางเหนืออีกครั้งหนึ่ง ซึ่งในหนึ่งปีจะมีวันที่ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออกและตกทางทิศตะวันตกพอดีเพียง 2 ครั้งเท่านั้น คือ วันวสันตวิษุวัต (Vernal Equinox) ประมาณวันที่ 20 หรือ 21 มีนาคม และ วันศารทวิษุวัต (Autumnal Equinox) วันที่ 22 หรือ 23 กันยายน

          ซึ่งปรากฎการนี้มักมีอิทธิพลโดยตรงกับประเทศในซีกโลกเหนืออย่างสหรัฐอเมริกาจะมีฤดูทั้งหมดสี่ฤดู คือ ฤดูใบไม้ผลิ ฤดูร้อน ฤดูใบไม้ร่วงและฤดูหนาว ส่วนในประเทศไทยมีฤดูอย่างเป็นทางการเพียง 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน (คิมหันตฤดู), ฤดูฝน (วัสสานฤดู) และ ฤดูหนาว (เหมันตฤดู)

แหล่งที่มา

กลุ่มงานประชาสัมพันธ์ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) . สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2562. จาก http://www.narit.or.th/index.php/pr-news/3701-narit-autumnal-equinox-september-2561

Shin, Jin . 234 คำถามวิทย์ต่อยอดความคิดไม่รู้จบ. สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2562. จาก https://books.google.co.th/books?id=k7BRBgAAQBAJ&pg=PA168&lpg=PA168&dq=วันศารทวิษุวัต&source=bl&ots=TH7XCQUAKx&sig=ACfU3U3vgaAGuLwAL5NWyyGRM5dXagN7Ow&hl=th&sa=X&ved=2ahUKEwiT7KX18YbmAhVm6nMBHW8lCJU4MhDoATAFegQIChAB#v=onepage&q=วันศารทวิษุวัต&f=false

Shin, Jin . 234 คำถามวิทย์ต่อยอดความคิดไม่รู้จบ. สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2562. จาก https://books.google.co.th/books?id=k7BRBgAAQBAJ&pg=PA168&lpg=PA168&dq=วันศารทวิษุวัต&source=bl&ots=TH7XCQUAKx&sig=ACfU3U3vgaAGuLwAL5NWyyGRM5dXagN7Ow&hl=th&sa=X&ved=2ahUKEwiT7KX18YbmAhVm6nMBHW8lCJU4MhDoATAFegQIChAB#v=onepage&q=วันศารทวิษุวัต&f=false

วันนี้ 23 ก.ย. 58 วันศารทวิษุวัต. สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2562. จาก https://stem.in.th/วันนี้-23-ก-ย-58-วันศารทวิษุวั/

 

หัวเรื่อง และคำสำคัญ
วันศารทวิษุวัต ,เวลากลางวันเท่ากับกลางคืน, ฤดูกาล
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
บทความ
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
วันที่เสร็จ
วันเสาร์, 12 ตุลาคม 2562
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
สุภัตรา ทรัพย์อุปการ
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
ระดับชั้น
ม.1
ม.2
ม.3
ม.4
ม.5
ม.6
ช่วงชั้น
มัธยมศึกษาตอนต้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
บุคคลทั่วไป
  • 10995 วันศารทวิษุวัต /article-earthscience/item/10995-2019-10-25-07-55-46
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    Average rating
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

  • คำที่เกี่ยวข้อง
    ฤดูกาล เวลากลางวันเท่ากับกลางคืน วันศารทวิษุวัต
คุณอาจจะสนใจ
นานาชื่อจันทร์เพ็ญในเดือนต่าง ๆ ของมนุษย์
นานาชื่อจันทร์เพ็ญในเดือนต่าง ๆ ของมนุษย...
Hits ฮิต (1421)
ให้คะแนน
โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์โดยดูจากเหนือขั้วโลกเหนือ ซึ่งแสดงโดยจุด ช่วงปลายเดือน (ประมาณวันที่ 21 ของเดือ ...
ค้นหาบทความ
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • บทความทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. Privacy. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)