logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
Login
Login / Register
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
Login
Login / Register
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
Login
Login / Register
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
ค้นหา
    

ค้นหาบทความ

กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • บทความทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ
  • หน้าแรก
  • บทความ
  • ชีววิทยา
  • ชีพจร

ชีพจร

โดย :
นายแพทย์วีระ เยาวพฤกษ์
เมื่อ :
วันศุกร์, 04 มิถุนายน 2553
Hits
39595

ชีพจร (Pulse)

นายแพทย์วีระ เยาวพฤกษ์ 

ชีพจร (Pulse)

     หลายๆ คนคงเคยรู้จักการจับชีพจรจากการชมภาพยนตร์เกี่ยวกับเรื่องราวในอดีตและคงสงสัยว่าชีพจรคืออะไร การจับชีพจรบอกอะไรกับแพทย์บ้างและมีวิธีการอย่างไร

     ชีพจรเป็นการขยายตัวและหดตัวของหลอดเลือดแดงส่วนปลาย เป็นจังหวะตามคลื่นความดันที่มาจากหลอดเลือดแดงใหญ่ใกล้หัวใจ สามารถจับได้ทั้งที่ข้อมือ (radial) ข้อพับศอก (brachial) ข้างคอ (carotid) ขาหนีบ (femoral) หลังเข่า (poplitial) และหลังเท้า (pedal pulse) การจับชีพจรโดยปกติ เริ่มที่ข้อมือ วิธีจับชีพจรเราใช้คลำโดยหงายมือผู้ป่วยขึ้น วางนิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนาง ของเราลงบนตำแหน่งของชีพจรตรงข้อมือ และวางนิ้วหัวแม่มือไว้ทางด้านหลังข้อมือของ ผู้ป่วย ดังภาพ

bypass01
ภาพแสดงการจับชีพจรบริเวณข้อมือ

     กดปลายนิ้ว ลงบนข้อมือด้วยแรงพอประมาณ จนรู้สึกถึงการเต้นของชีพจร หลังจากนั้น จึงนับชีพจร การจับชีพจรจะช่วยบอก 
       ก. อัตราการเต้นของหัวใจกี่ครั้ง/นาที 
       ข. จังหวะการเต้นของหัวใจสม่ำเสมอหรือไม่ 
       ค. ชีพจร 2 ข้างเท่ากันหรือไม่ 
       ง. ลักษณะของชีพจร 

     ในรายที่มีชีพจรสม่ำเสมอ ปกติเราใช้นับจำนวนชีพจรใน 15 วินาที และคูณ 4 จะเป็นอัตราการเต้นของหัวใจต่อนาที ปกติจะอยู่ระหว่าง 60-100 ครั้ง/นาที และจังหวะคงที่สม่ำเสมอ ถ้ามากหรือน้อยกว่านี้ หรือไม่สม่ำเสมอถือว่าผิดปกติ 

     การตรวจชีพจรร่วมกับการฟังเสียงหัวใจและการตรวจร่างกายอื่นๆ ประกอบกับประวัติความเจ็บป่วยที่สัมภาษณ์ได้ ช่วยให้แพทย์สามารถวินิจฉัยโรคต่างๆ และเลือกส่งตรวจเพิ่มเติมอื่นๆ ตามความเหมาะสม 

เอกสารอ้างอิง

การสัมภาษณ์ประวัติและตรวจร่างกาย โครงการตำราจุฬาอายุรศาสตร์ ฉบับที่ 10 98-99, 115-116 พิมพ์ครั้งที่ 8 .2541 

เว็บไซต์สำหรับศึกษาเพิ่มเติม

1. http://www.viahealth.org/rgh/departments/cardiac/cardiacsurgeries.htm
Coronary Artery Bypass Graft Surgery (CABG) - ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับหน้าที่ของหัวใจ, 
เส้นเลือด coronary artery, โรคที่เกิดกับเส้นเลือดชนิดนี้, และการผ่าตัดหัวใจมีกี่แบบ ดูรายละเอียดได้ที่นี่ 
พร้อมภาพประกอบการเรียนการสอน 
2. http://www.learnaboutbypass.com/atgtemplate.jsp?pid=c
การผ่าตัด Bypass คืออะไร? - พร้อมภาพประกอบสวยๆ 
3. http://www.elib-online.com/doctors3/food_heart03.html
ถ้าอ่านไปใจสั่นไป หรือบ่นเด็กในห้องเรียนแล้วรู้สึกเหนื่อย ห้ามพลาด บทความภาษาไทย "อาหารกับโรคหัวใจ" 
3. http://www.clinic.worldmedic.com/disease/hemato/hemato6.htm
บทความภาษาไทย เรื่อง "โรคหัวใจขาดเลือด โรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย" 


Copyright  © 2002  The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST). All rights reserved. 
Last updated 03/19/2007 15:43:19

 

หัวเรื่อง และคำสำคัญ
ชีพจร,Pulse, แพทย์, ร่างกาย, มนุษย์,ขยายตัว,หดตัว,หลอดเลือด
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
บทความ
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
วันที่เสร็จ
วันศุกร์, 04 มิถุนายน 2553
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
นายแพทย์วีระ เยาวพฤกษ์
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
ชีววิทยา
ระดับชั้น
ม.4
ม.5
ม.6
ช่วงชั้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
บุคคลทั่วไป
  • 334 ชีพจร /article-biology/item/334-pulse
    คลิ๊กเพื่อติดตาม
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    คะแนนเฉลี่ย
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

คุณอาจจะสนใจ
ผงะ!40ปีขยะพลาสติกเพิ่มขึ้น100เท่า กระทบชีวิตสัตว์ทะเลแปซิฟิ ...
ผงะ!40ปีขยะพลาสติกเพิ่มขึ้น100เท่า กระทบ...
Hits ฮิต (14282)
ให้คะแนน
ปริมาณชิ้นส่วนพลาสติกขนาดเล็กที่ ลอยเท้งเต้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกฝั่ง ตะวันออกเฉียงเหนือเพิ่มขึ้นกว ...
ประโยชน์ของสารส้ม
ประโยชน์ของสารส้ม
Hits ฮิต (20486)
ให้คะแนน
สารส้มใช้ทำให้น้ำตกตะกอนสำคัญ อย่าลืมซื้อพกติดตัวกันไว้สัก 2-3 ก้อน ถึงน้ำที่แกว่งสารส้มแล้วจะยังใช ...
แอสเพอร์เกอร์ ซินโดรม
แอสเพอร์เกอร์ ซินโดรม
Hits ฮิต (23635)
ให้คะแนน
หากลูกหลานหรือเด็กที่คุณรู้จักตั้งแต่อายุประมาณ 3 ขวบขึ้นไป ปรากฏพฤติกรรมแปลก ๆ เช่น ชอบเล่นหรือทำก ...

ค้นหาบทความ

กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • บทความทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)