logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • คำถามที่พบบ่อย
  • สมัครสมาชิก
  • Forgot your password?
ค้นหา
    
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ

การดูดซับพลังงานเสียงของวัสดุธรรมชาติ

ชื่อผู้ทำโครงงาน
นายศุภณัฐ สุวัฒนภักดี
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์คร.วีระศักดิ์ สระเรืองชัย
สถาบันการศึกษา
โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย
ระดับชั้น
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ
หมวดวิชา
ฟิสิกส์
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
การดูดซับพลังงานเสียงของวัสดุธรรมชาติ รูปภาพ 1
บทคัดย่อ

ธรรมชาตอกับเสียง 2 สิ่งนี้มีความสัมพันธ์กันอยู่มากมาย หนึ่งในความสัมพันธ์เหล่านั้น คือ การที่สิ่งต่างๆในธรรมชาติสามารถดูดซับเสียงได้ ทำให้เสียงเกิดการหายไป ไม่สะท้อนไป – มา บนโลกไม่สิ้นสุด โครงงานนี้จึงได้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาถึงความสัมพันธ์นี้ โดยเลือกผลิตภัณฑ์ทางธรรมชาติมา 3 ชนิด ได้แก่ เปลือกส้ม เปลือกมะม่วงและกากของถั่วเหลืองมาทำการทดสอบการดูดซับเสียง โดยหวังว่าหากการทดลองประสบความสำเร็จจะสามารถนำวัตถุเหล่านี้ไปประดิษฐ์สิ่งของที่นำไปใช้ประโยชน์เพิ่มเติมได้ การทดลองนี้เริ่มต้นจากการออกแบบอุปกรณ์ขึ้นมาใหม่ทั้งหมด เนื่องจากการทดลองแบบเดิมที่ใช้ในเรื่องนี้ซึ่งใช้ Standing wave tube นั้น ดูได้ไม่ชัดเจน เนื่องจากต้องปล่อยให้เสียงที่ไม่ได้ถูกดูดซับกับเสียงที่ถูกดูดซับไปแล้วมาแทรกสอดกัน ดังนั้นจึงมีแนวคิดที่จะสร้างอุปกรณ์ขึ้นใหม่โดยอาศัยแบบเดิมมาดัดแปลงให้เกิดเสียงการสะท้อนตามหลักกฎการสะท้อนของคลื่น เมื่อสร้างอุปกรณ์ขึ้นมาได้ จึงนำวัสดุมาปั่นให้มีขนาดเล็กและรวมเป็นเนื้อเดียว ง่ายต่อการทำเป็นรูปร่างต่างๆ แล้วนำมาทดลอง โดยปล่อยคลื่นเสียงเข้าไปในปลายท่อที่ออกแบบเองด้านหนึ่ง ให้สะท้อนกับวัตถุ กลับมาจะได้คลื่นเสียงที่ถูกดูดซับสะท้อนกลับมาทำการวัดความเข้มเสียง (ความดัง) จากผลการทดลอง ผลค่อนข้างออกมาไม่แน่ชัด อาจจะคิดได้ว่าเปลือกส้มและกากถั่วเหลืองสามารถดูดซับเสียงได้มากกว่าเปลือกมะม่วง เนื่องจากการทดลองนี้ ถ้าต้องการผลที่ถูกต้องแน่นอนจะต้องอาศัยความประณีต และความอดทนมากกว่านี้ ซึ่งเวลาจะเป็นปัจจัยที่สำคัญเป็นอย่างมาก หากมีโอกาสที่จะได้ศึกษาเรื่องนี้ต่อไป ก็ควรจะจัดการอุปกรณ์ เครื่องมือรวมถึงวัสดุที่ใช้ทดะลองให้มีควาพร้อมมากขึ้น เพิ่มจำนวนสิ่งที่จะต้องทดลองมากขึ้น และลองนำวัสดุมาผสมกันเพื่อทดลองด้วย เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป

ดาวน์โหลด
file 1
หัวเรื่อง และคำสำคัญ
พลัง,พลังงาน,เสียง,ธรรมชาติ
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
โครงงาน
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วันที่เสร็จ
วันพฤหัสบดี, 01 มกราคม 2541
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
นายศุภณัฐ สุวัฒนภักดี
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
บุคคลทั่วไป
  • 4863 การดูดซับพลังงานเสียงของวัสดุธรรมชาติ /project/item/4863-2016-09-09-03-24-45_4863
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    Average rating
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

คุณอาจจะสนใจ
การเกิดแผ่นดินไหวในประเทศไทย
การเกิดแผ่นดินไหวในประเทศไทย
Hits ฮิต (69988)
ให้คะแนน
เชื่อว่าบางคนอาจจะเคยได้ยินเรื่องของ การเกิดแผ่นดินไหวในประเทศไทย มาบ้างแล้วไม่มากก็น้อย เหตุผลที่เ ...
ระบบเบิกจ่ายวัสดุโรงเรียนผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (กรณีศึกษ ...
ระบบเบิกจ่ายวัสดุโรงเรียนผ่านเครือข่ายอิ...
Hits ฮิต (71121)
ให้คะแนน
ในการสร้างระบบเบิกจ่ายวัสดุโรงเรียน ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (กรณีศึกษาโรงเรียนขุขันธ์) เป็นส่วนหน ...
การพัฒนาสื่อการเรียนการสอนวิชา Discrete Mathematics
การพัฒนาสื่อการเรียนการสอนวิชา Discrete ...
Hits ฮิต (78193)
ให้คะแนน
สื่อการเรียนการสอนด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CAI (Computer Aided Instruction หรือ Computer Assisted Instr ...
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. Privacy. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)