logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • คำถามที่พบบ่อย
  • สมัครสมาชิก
  • Forgot your password?
ค้นหา
    
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ

การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตตัวเก็บประจุชนิดฟิล์มบางดดยกระบวนการเคลือบในสุญญากาศด้วยวิธีสปัตเตอริง

ชื่อผู้ทำโครงงาน
นายณัฐปพน สราญรมย์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์อรุณีย์ อินทศร, ผู้ช่วยศาสตราจารย์นิรันดร์ วิทิตอนันต์, อ.พิมล อนันตา
สถาบันการศึกษา
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อ.เมือง จ.เชียงใหม่
ระดับชั้น
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ
หมวดวิชา
ฟิสิกส์
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตตัวเก็บประจุชนิดฟิล์มบางดดยกระ ... รูปภาพ 1
บทคัดย่อ

การศึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์นี้ เป็นการนำความรู้เรื่องการเคลือบฟิล์มบางในสุญญากาศด้วยวิธีสปัตเตอริงและการวิเคราะห์ธาตุด้วยเทคนิคการวาวรังสีเอกซ์ มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในงานที่หลากหลาย โดยเลือกศึกษาการผลิตตัวเก็บประจุ ซึ่งมีลักษณะพื้นฐาน คือแผ่นตัวนำวางขนานกันสองแผ่น และมีสารที่มีสภาพคล้ายฉนวนคั่นกลาง ซึ่งมีโครงสร้างที่ง่ายต่อการศึกษา โดยการเคลือบฟิล์มบางในสุญญากาศด้วยวิธีสปัตเตอริงนี้ ทำได้โดยการระดมยิงอนุภาคที่มีพลังงานสูงเข้าชนเป้าสาเคลือบทำให้อะตอมของสารเคลือบหลุดออกแล้วไปตกกระทบและฝังแน่นที่วัสดุรองรับ เนื่องจากอนุภาคของสารเคลือบมีพลังงานสูงทำให้ฟิล์มบางที่ได้มีความแข็งแรงทนทานกว่าการเคลือบด้วยวิธีอื่น ๆ การศึกษาครั้งนี้ทำการเคลือบฟิล์มทองแดงลงบนแผ่นไมลาร์ทั้งสองด้าน เป็นเวลา 10 , 15 , 20 และ 25 นาที ซึ่งเมื่อใช้ระยะเวลาในการเคลือบเพิ่มขึ้น ความหนาของฟิล์มบางทองแดงก็จะเพิ่มขึ้นด้วย โดยฟิล์มทองแดงที่เคลือบทั้งสองด้านทำหน้าที่เป็นแผ่นตัวนำหรือเพลท (plate) แผ่นไมลาร์ทำหน้าที่เป็นฉนวนหรือไดอิเลกตริก (dielectric) จากการศึกษาและทำการทดลอง พบว่า ชิ้นงานที่ได้นี้ มีคุณสมบัติในการเป็นตัวเก็บประจุแบบไม่มีขั้ว โดยสามารถวัดค่าการเก็บประจุได้ซึ่งมีค่าในช่วงประมาณ 119-126 pF ถือว่าใกล้เคียงกับค่าการเก็บประจุของตัวเก็บประจุชนิดไมลาร์ที่มีใช้โดยทั่วไป แต่ยังไม่สามารถสรุปความสัมพันธ์ระหว่างความหนาของฟิล์มบางกับค่าการเก็บประจุที่แน่นอนได้ เนื่องจากตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษามีไม่เพียงพอ และจากการวิเคราะห์คุณสมบัติของฟิล์มบางด้วยเทคนิคการวาวรังสีเอกซ์ ทำให้สามารถชี้ชัดได้ว่าฟิล์มบางที่เคลือบนั้น ยังคงเป็นทองแดงบริสุทธิ์ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง และตรวจสอบค่าความหนาของฟิล์มบางที่ได้จากการคำนวณโดยวิธีชั่งมวลว่าเป็นค่าที่ถูกต้อง การศึกษาครั้งนี้ช่วยให้ทราบแนวทางในการพัฒนาการผลิตตัวเก็บประจุชนิดฟิล์มบางโดยการเคลือบฟิล์มบางในสุญญากาศด้วยวิธีสปัตเตอริงเพื่อให้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริงในโอกาสต่อไป

หัวเรื่อง และคำสำคัญ
ประจุ,ฟิล์ม,เคลือบ,สุญญากาศ,สปัตเตอริง
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
โครงงาน
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วันที่เสร็จ
วันพฤหัสบดี, 01 มกราคม 2541
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
นายณัฐปพน สราญรมย์
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
บุคคลทั่วไป
  • 5036 การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตตัวเก็บประจุชนิดฟิล์มบางดดยกระบวนการเคลือบในสุญญากาศด้วยวิธีสปัตเตอริง /project-other/item/5036-2016-09-09-03-25-36_5036
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    Average rating
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

คุณอาจจะสนใจ
จิ้งจอกเปลี่ยนสี : ส่วนขยายปรับเปลี่ยนโทนสีของเนื้อหา เพื่อล ...
จิ้งจอกเปลี่ยนสี : ส่วนขยายปรับเปลี่ยนโท...
Hits ฮิต (78290)
ให้คะแนน
จอมอนิเตอร์ประเภทซีอาร์ที (CRT) นั้นมีอัตราการกินไฟที่สูงมากเมื่อเทียบกับประเภทแอลซีดี (LCD) แต่จอซ ...
การผลิตแก๊สชีวภาพโดยใช้อาหารต่างกัน
การผลิตแก๊สชีวภาพโดยใช้อาหารต่างกัน
Hits ฮิต (72462)
ให้คะแนน
โครงงานนี้เป็นการศึกษาการผลิตแก๊สชีวภาพโดยใช้อาหารที่ต่างกัน เพื่อเปรียบเทียบปริมาณแก๊สชีวภาพและประ ...
การศึกษาปัญหาการเลือกที่ถูกทำในภายหลังโดยใช้การทดลองของสเทิร ...
การศึกษาปัญหาการเลือกที่ถูกทำในภายหลังโด...
Hits ฮิต (67163)
ให้คะแนน
การทดลองการเลือกที่ถูกทำในภายหลัง (Delayed-choice experiment) ซึ่งเป็นการทดลองที่แสดงให้เห็นถึงลักษ ...
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. Privacy. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)