logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • คำถามที่พบบ่อย
  • สมัครสมาชิก
  • Forgot your password?
ค้นหา
    
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ

ฟิสิกส์ของโปงลาง

ชื่อผู้ทำโครงงาน
นางสาวอภิรดี พรมทา
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
ผศ.สยาม ชูถิ่น
สถาบันการศึกษา
โรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย
ระดับชั้น
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ
หมวดวิชา
ฟิสิกส์
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
ฟิสิกส์ของโปงลาง รูปภาพ 1
บทคัดย่อ

โครงงานนี้แบ่งการทดลองเป็น 2 ตอน โดยตอนที่ 1 วัดขนาดความยาวของลูกโปงลาง , ความยาวรอยถาก, เส้นผ่านศูนย์กลาง , ความกว้างของส่วนที่บางที่สุด และระยะเวลาร้อยเชือกวัดจากขอบลูกโปงลางทุกลูก ตอนที่ 2 ตีลูกโปงลางทุกลูกตรงกลางด้วยแรง 0.65 นิวตัน , 0.90 นิวตัน และตรงขอบของรอยถากด้วยแรง 0.65 นิวตัน บันทึกเสียงแล้วนำมาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม Signal Analyze Toolkit จากการศึกษา พบว่า โปงลางเป็นแหล่งกำเนิดเสียงประเภทแท่งของแข็งยาวปลายอิสระ ส่วนกลางบางกว่าส่วนขอบ โดยเฉลี่ยแล้วลูกโปงลางแต่ละลูกมีความยาวของรอยถากเป็น 0.58 เท่าของความยาว และมีระยะร้อยเชือกวัดจากขอบเป็น 0.21 เท่าของความยาว ซึ่งเป็นตำแหน่งใกล้เคียงกับตำแหน่งบัพของคลื่นเสียงความถี่มูลฐาน เมื่อตีลูกโปงลาง เสียงที่เกิดขึ้นจะไม่เป็นกรมฮาร์มอนิก แต่ความถี่มูลฐานจะเป็นความถี่เด่นโดยโอเวอร์โทนจะเกิดขึ้นได้ยากเนื่องจากถูกหน่วงเอาไว้ด้วยการตรึง ดังจะเห็นว่าเสียงจากลูกโปงลางบางเสียงจะมีเพียงความถี่เดียวซึ่งเกิดจากลูกโปงลางสั่นด้วยความถี่มูลฐานของการสั่นตามขวาง บางเสียงเกิดโอเวอร์โทนแต่ก็หายไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งขั้นเสียงโปงลางมีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างจากบันไดเสียงของดนตรีสากล

หัวเรื่อง และคำสำคัญ
ฟิสิกส์,โปงลาง
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
โครงงาน
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วันที่เสร็จ
วันพฤหัสบดี, 01 มกราคม 2541
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
ผศ.สยาม ชูถิ่น
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
บุคคลทั่วไป
  • 5046 ฟิสิกส์ของโปงลาง /project-chemistry/item/5046-2016-09-09-03-28-16
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    Average rating
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

คุณอาจจะสนใจ
ความหลากหลายของพืชวงศ์กาฝาก(Loranthaceae) ในอำเภอเสนางคนิคม  ...
ความหลากหลายของพืชวงศ์กาฝาก(Loranthaceae...
Hits ฮิต (76861)
ให้คะแนน
การศึกษาความหลากหลายของพรรณไม้วงศ์กาฝาก ในพื้นที่อำเภอเสนางคนิคม จังหวัด อำนาจเจริญ โดยเก็บตัวอย่าง ...
ไบโอดีเซลจากสารสกัดจากเมล็ดสบู่ดำ
ไบโอดีเซลจากสารสกัดจากเมล็ดสบู่ดำ
Hits ฮิต (80850)
ให้คะแนน
ปัจจุบันปริมาณการใช้น้ำมันมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างมาก พลังงานทดแทนจึงเป็นทางเลือกหนึ่ง ซึ่งสามารถช่วยแ ...
เปรียบเทียบสารสกัดจากใบสับปะรดกับ 17β - estradiol ที่มีผลต่อ ...
เปรียบเทียบสารสกัดจากใบสับปะรดกับ 17β - ...
Hits ฮิต (76511)
ให้คะแนน
การสกัดและการแยกสารสกัดสเตอรอยด์ซาโปนินจากใบสับปะรด (Ananas comosus (L.) Merr)นำน้ำยาสกัดเมทานอลมาท ...
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. Privacy. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)