logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • คำถามที่พบบ่อย
  • สมัครสมาชิก
  • Forgot your password?
ค้นหา
    
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ

การใช้เปลือกเม็ดมะขามป้องกันการหืนของน้ำมันมะพร้าว

ชื่อผู้ทำโครงงาน
นางสาวนิศากร น้อยประเสริฐ, นางสาวพัชราภรณ์ ศรีจันทนากุล, นางสาวธีราธร สอนเจริญ
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
นางปิ่น ช่างทอง , นางสาวราตรี วัฒนอาภรณ์ชัย
สถาบันการศึกษา
โรงเรียนดัดดรุณี
รางวัลที่ได้รับ
-
ระดับชั้น
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ
หมวดวิชา
ชีววิทยา
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
การใช้เปลือกเม็ดมะขามป้องกันการหืนของน้ำมันมะพร้าว รูปภาพ 1
บทคัดย่อ

น้ำมันมะพร้าวที่เก็บ ณ อุณหภูมิปกติจะเกิดกลิ่นเหม็นหืน (oxidizing flavor) จากปฏิกิริยาออกซิเดชันซึ่งไม่เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค ทำให้มีคุณภาพต่ำและสูญเสียทางเศรษฐกิจ การใช้สารเคมีสังเคราะห์หลายชนิดป้องกันออกซิเดชันแต่มีราคาแพงและเป็นอันตรายหากใช้ติดต่อกันเป็นระยะเวลานานๆ จึงไม่เหมาะสมกับการผลิตน้ำมันมะพร้าวในครัวเรือน พืชหลายชนิดมีสารต้านปฏิกิริยาออกซิเดชัน (antioxidant) ถ้านำมาใช้กับน้ำมันมะพร้าวแล้วน่าจะมีความปลอดภัยและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากกว่าสารเคมี ได้ทดลองป้องกันออกซิเดชันของน้ำมันมะพร้าวที่ผลิตในครัวเรือนด้วยการสกัดจากเปลือกเม็ดพืชท้องถิ่นในวงศ์ราชพฤกษ์ (Caesalpiniaceae) จำนวน 7 ชนิด คือ มะขาม (Tamaridus indica L.) หางนกยูงไทย (Caesalpinia pulcherrima L.) หางนกยูงฝรั่ง (Delonix regia L.) คูน (Cassia fistula L.) ขี้เหล็ก (C. siamea Lamk.) ชุมเห็ด (C. occidentalis L.) และนนทรี (Peltophorum pterocarpum DC.) ศึกษาชนิดและปริมาณของสารสกัดจากเปลือกเมล็ดพืช ใช้น้ำผสมเอทิลแอลกอฮอล์ในอัตราส่วน 50:50 เป็นตัวทละลาย ประเมินการเกิดออกซิเดชันด้วยการวัดค่าพีเอชและค่าเปอร์ออกไซด์ด้วยวิธี Iodometric titration (AOAC, 1971) ผลการทดลองพบว่าน้ำมันมะพร้าวใส่สารสกัดจากเปลือกเมล็ดมะขามเกิดออกซิเดชันน้อยที่สุด รองลงมาคือ คูน และนนทรีตามลำดับ และน้ำมันมะพร้าวใส่สารสกัดจากเปลือกเมล็ดมะขามในปริมาณน้อยที่สุดเท่ากับ 0.03% หลังจากเก็บ ณ อุณหภูมิปกติเป็นเวลา 25 วัน มีค่าพีเอชลดลงน้อยและค่าเปอร์ออกไซด์ไม่เกิน 10 meq oxygen/kg oil ตามมาตรฐานของ FAO/WHO (Codex) จากการทดลองสรุปได้ว่าชนิดและปริมาณของสารสกัดจากเปลือกเมล็ดพืชวงศ์ราชพฤกษ์ มีผลต่อการป้องกันออกซิเดชันของน้ำมันมะพร้าวที่ผลิตในครัวเรือนแตกต่างกัน โดยสารสกัดจากเปลือกเมล็ดมะขามป้องกันออกซิเดชันของน้ำมันมะพร้าวที่ผลิตในครัวเรือนแตกต่างกัน โดยสารสกัดจากเปลือกเมล็ดมะขามป้องกันออกซิเดชันของน้ำมันมะพร้าวได้ดีที่สุด

หัวเรื่อง และคำสำคัญ
เปลือก,เม็ด,มะขาม,น้ำมัน,มะพร้าว
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
โครงงาน
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
โรงเรียนดัดดรุณี
วันที่เสร็จ
วันพฤหัสบดี, 01 มกราคม 2541
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
นางสาวนิศากร น้อยประเสริฐ, นางสาวพัชราภรณ์ ศรีจันทนากุล, นางสาวธีราธร สอนเจริญ
ระดับชั้น
ม.4
ม.5
ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
  • 6572 การใช้เปลือกเม็ดมะขามป้องกันการหืนของน้ำมันมะพร้าว /project-biology/item/6572-2016-09-09-03-51-43-6572
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    Average rating
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

คุณอาจจะสนใจ
วงจรการสืบพันธุ์ของหอยหวาน (Babylonia areolata) บริเวณอ่าวไท ...
วงจรการสืบพันธุ์ของหอยหวาน (Babylonia ar...
Hits ฮิต (75536)
ให้คะแนน
การศึกษาวงจรสืบพันธุ์ของหอยหวาน (Babylonia areolata) จากบริเวณอ่าวไทยตอนล่าง ณ จังหวัดปัตตานี ซึ่งเ ...
เมาไม่ขับ Drink No Drive
เมาไม่ขับ Drink No Drive
Hits ฮิต (84551)
ให้คะแนน
เนื่องจากในปัจจุบันได้เกิดอุบัติเหตุและการเสียชีวิตเนื่องจากการดื่มสุราแล้วขับเป็นจำนวนมาก ซึ่งเป็น ...
ผลของกวาวเครือขาวต่อระบบสืบพันธุ์ของหอยเชอรี่เพศผู้ (Pomacea ...
ผลของกวาวเครือขาวต่อระบบสืบพันธุ์ของหอยเ...
Hits ฮิต (73187)
ให้คะแนน
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ผลของกวาวเครือขาวต่อการสร้างสเปิร์ม และ การเปลี่ยนแปลงด้านสัณฐา ...
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. Privacy. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)