logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • คำถามที่พบบ่อย
  • สมัครสมาชิก
  • Forgot your password?
ค้นหา
    
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ

เครื่องแกะกระเทียม

ชื่อผู้ทำโครงงาน
นายสมชาย แซ่ลี้, นางสาวคะนึงนิจ ทัศน์ศิริ, นางสาวสายสมร แกนาง
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
นางสาวพัทยา ยะมะโน, นายสุปิยะ ศักดิ์ภิรมย์
สถาบันการศึกษา
โรงเรียน ปายวิทยาคาร
รางวัลที่ได้รับ
-
ระดับชั้น
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ
หมวดวิชา
อื่นๆ
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
เครื่องแกะกระเทียม รูปภาพ 1
บทคัดย่อ

กระเทียมเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของจังหวัดแม่ฮ่องสอน และอำเภอปายเป็นอำเภอที่ปลูกกระเทียมมากที่สุดในจังหวัด ในแต่ละปีก่อนที่จะมีการเพาะปลูก เกษตรกรจะต้องแกะกระเทียมเพื่อแยกออกมาเป็นกลีบๆ เพื่อจะนำไปขยายพันธุ์ ซึ่งจะเป็นวิธีการแกะด้วยมือ ถึงแม้ว่าจะมีเครื่องสำหรับแยกกลีบกระเทียมอยู่แล้ว แต่ก็เป็นเครื่องมือที่สำหรับแกะกระเทียมขายส่งโรงงานมิใช่การแกะเพื่อขยายพันธุ์ ดังนั้นคณะผู้วิจัยจึงได้สร้างเครื่องแกะกระเทียมที่สามารถแยกกลีบกระเทียมออกมาเพื่อขยายพันธุ์ได้ จากการทดลองแปรระยะห่างระหว่างแกนบีบอัดทั้ง 4 แกน กับแป้นบีบของเครื่องแกะกระเทียม พบว่า ระยะที่เหมาะสมที่จะทำให้ได้กลีบกระเทียมที่สมบูรณ์ไม่ช้ำไม่แตกของแกนบีบอัดที่ 1 2 3 และ 4 กับแป้นบีบ ได้ผลตามลำดับดังนี้ คือ 3 2.5 2 และ 1 เซนติเมตรการใช้วัสดุที่เหมาะสมในการรองแป้นบีบและพันรอบแกนบีบสามารถป้องกันการช้ำ การถลอกเป็นแผลองกลีบกระเทียมได้ ซึ่งจากการทดลองพบว่ายางพาราให้ผลการทดลองที่ดีที่สุด โดยการใช้สภาวะที่เหมาะสมดังกล่าว เครื่องแกะกระเทียมสามารถแกะกระเทียมได้ด้วยอัตราเร็วประมาณ 2 กิโลกรัมต่อนาที และได้กลีบกระเทียมสมบูรณ์ร้อยละ 97.8 ของกลีบกระเทียมที่ได้ทั้งหมด เมื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพโดยรวม เครื่องแกะกระเทียมต้นแบบที่ประดิษฐ์ได้สามารถแกะกระเทียมได้เร็วกว่าการแกะด้วยมือประมาณ 9 เท่า โดยกลีบกระเทียมที่ได้มีลักษณะเหมาะสมในการนำไปขยายพันธุ์

หัวเรื่อง และคำสำคัญ
เครื่อง,แกะ,กระเทียม
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
โครงงาน
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
โรงเรียน ปายวิทยาคาร
วันที่เสร็จ
วันพฤหัสบดี, 01 มกราคม 2541
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
นายสมชาย แซ่ลี้, นางสาวคะนึงนิจ ทัศน์ศิริ, นางสาวสายสมร แกนาง
ระดับชั้น
ม.4
ม.5
ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
  • 6626 เครื่องแกะกระเทียม /project/item/6626-2016-09-09-03-51-59-6626
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    Average rating
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

คุณอาจจะสนใจ
เครื่องทอผ้าขาวม้าบ้านปะอาว
เครื่องทอผ้าขาวม้าบ้านปะอาว
Hits ฮิต (79436)
ให้คะแนน
จากการศึกษาการทอผ้าขาวม้าและเครื่องทอผ้าขาวม้าของกลุ่มทอผ้าขาวม้าบ้านปะอาว พบว่ากลุ่มทอผ้าขาวม้าบ้า ...
Red Cell Survival of Splenectomized Thalasemic Mice
Red Cell Survival of Splenectomized Thal...
Hits ฮิต (75061)
ให้คะแนน
ธาลัสซีเมียเป็นความผิดปกติทางพันธุกรรมแบบยีนเดี่ยวที่พบบ่อยที่สุดในโลก โรคเบตาธาลัสซีเมีย เกิดจากคว ...
Calories Calculator on Mobile Phones Mobile Application
Calories Calculator on Mobile Phones Mob...
Hits ฮิต (79945)
ให้คะแนน
ในปัจจุบัน คนเริ่มมีปัญหาด้านสุขภาพมากขึ้น ซึ่งสาเหตุมาจากการรับประทานอาหารโดยไม่คำนึงถึงจำนวนแคลอร ...
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. Privacy. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)