logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • คำถามที่พบบ่อย
  • สมัครสมาชิก
  • Forgot your password?
ค้นหา
    
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ

สารกระตุ้นรากจากผักโขม

ชื่อผู้ทำโครงงาน
นางสาวสุพรรณิการ์ ขวัญเมือง, นางสาววิยดา แสงสว่าง, นางสาวจันทิมา มงคล
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
นายเฉลิมพร พงษ์ธีระวรรณ, นางสุวารี พงศ์ธีระวรรณ
สถาบันการศึกษา
โรงเรียนสุราษฎร์พิทยา อำเภอเมืองฯ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
รางวัลที่ได้รับ
-
ระดับชั้น
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ
หมวดวิชา
ชีววิทยา
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
สารกระตุ้นรากจากผักโขม รูปภาพ 1
บทคัดย่อ

โครงการนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะกระตุ้นให้พืชออกรากได้มากและเร็วกว่าปกติ โดยเริ่มจากการคัดเลือกพืชที่มีมากและหาง่ายในท้องถิ่น มาทำการหาปริมาณออกซิน เพื่อนำมาใช้เป็นสารกระตุ้นรากจากยอดของผักบุ้ง ผักโขม ผักตำลึง ต้นสาบเสือ โดยการนำเอายอดพืชมาหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ ผลปรากฏว่า ผักโขมมีออกซินมากที่สุด เมื่อนำเอายอดผักโขมมาสกัดด้วยน้ำในปริมาตรต่างๆ นาน 30 นาทีแล้วนำกิ่งพืช (กระดุมทอง, ฤาษีผสม, เฟื่องฟ้า) แช่สารที่สกัดได้ในเวลาต่างกันจะพบว่า สารที่สกัดได้จากการใช้น้ำ 40 cm3 สกัดสารจากผักโขม 2 กรัม เมื่อแช่กระดุมทองและฤาษีผสมในสารที่สกัดได้นาน 10-15 นาที และแช่กิ่งเฟื่องฟ้าในสารที่สกัดได้นาน 5 ชั่วโมงจะพบว่าพืชสามารถออกรากได้จำนวนมากและยาวกว่าที่ไม่ได้ใช้สารกระตุ้นราก

หัวเรื่อง และคำสำคัญ
สาร,กระตุ้น,ราก,ผักโขม
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
โครงงาน
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
โรงเรียนสุราษฎร์พิทยา อำเภอเมืองฯ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
วันที่เสร็จ
วันพฤหัสบดี, 01 มกราคม 2541
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
นางสาวสุพรรณิการ์ ขวัญเมือง, นางสาววิยดา แสงสว่าง, นางสาวจันทิมา มงคล
ระดับชั้น
ม.4
ม.5
ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
  • 6622 สารกระตุ้นรากจากผักโขม /project/item/6622-2016-09-09-03-51-59-6622
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    Average rating
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

คุณอาจจะสนใจ
การทดสอบพิษของสารสกัดจากกลีบดอกกุหลาบสีแดงพันธุ์กาล่าและกลีบ ...
การทดสอบพิษของสารสกัดจากกลีบดอกกุหลาบสีแ...
Hits ฮิต (78538)
ให้คะแนน
การทดสอบพิษของสารสกัดจากกลีบดอกกุหลาบสีแดงพันธุ์กาล่าและกลีบดอกกุหลาบสีขาวพันธุ์ขาวมะลิ มีจุดมุ่งหม ...
การศึกษาระบบดิสชาร์จแบบเรืองแสง
การศึกษาระบบดิสชาร์จแบบเรืองแสง
Hits ฮิต (73223)
ให้คะแนน
จากการสร้างระบบดิสชาร์จแบบเรืองแสงและศึกษาปรากฏการณ์ดิสชาร์จแบบเรืองแสง (grow discharge) ที่สัมพันธ ...
การศึกษาคารีโอไทป์ของพืชวงศ์ขิงระหว่างไพล (Zingiber montanum ...
การศึกษาคารีโอไทป์ของพืชวงศ์ขิงระหว่างไพ...
Hits ฮิต (71796)
ให้คะแนน
จากการศึกษาคารีโอไทป์จากเซลล์ปลายรากของพืชวงศ์ขิง ระหว่างไพล (Zingiber montanum (Koenig) Link ex Di ...
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. Privacy. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)