logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • คำถามที่พบบ่อย
  • สมัครสมาชิก
  • Forgot your password?
ค้นหา
    
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ

โปรแกรมหาพิกัดสามมิติจากแบบจำลองเพื่อการทดลองวิทยาศาสตร์จากกล้องสองกล้องภาคสอง

ชื่อผู้ทำโครงงาน
นายอานนท์ ยันตรศรี
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์นงลักษณ์ โควาวิสารัช
สถาบันการศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รางวัลที่ได้รับ
-
ระดับชั้น
ปริญญาโทขึ้นไป
หมวดวิชา
คอมพิวเตอร์
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
โปรแกรมหาพิกัดสามมิติจากแบบจำลองเพื่อการทดลองวิทยาศาสตร์จากก ... รูปภาพ 1
บทคัดย่อ

โปรแกรมนี้จะสร้างแบบจำลองเชิงสามมิติจากภาพในมุมมองต่าง ๆ ที่ได้รับจากกล้องอย่างน้อย 2 มุมมองโดยทำการแสดงข้อมูลพื้นผิวสามมิติที่สังเคราะห์และระบุตำแหน่งเชิงสามมิติที่หาได้ออกทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถใช้ประโยชน์ในการสังเกตวัตถุทั่วไปที่ผู้ใช้งานไม่สามารถหาตำแหน่งของสิ่งที่สนใจได้โดยตรง หรือหาตำแหน่งได้แต่ไม่แม่นยำ เช่น ในการทดลองวิทยาศาสตร์ การวิจัยเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงขนาดหรือรูปร่างของวัตถุเมื่อได้รับความร้อนในเตาหลอม การศึกษาพฤติกรรมของสัตว์ทดลองภายในกรง การหาขนาดของแผลหลังจากได้รับยาแล้ว การสำรวจทั่วไป เป็นต้น โดยโปรแกรมนี้จะช่วยระบุตำแหน่งเชิงสามมิติให้แก่ผู้ใช้ได้โดยที่ไม่จำเป็นต้องวัดหรือประมาณด้วยตนเอง This program synthesizes 3D model from 2-view images to show surface and identify 3D position on computer monitor. It can be used in general observation in case that observers are not able either to find the positions of observed objects directly or to get precise positions. For example, it is impossible for experimenters to measure the sizes of objects in a high temperature furnace. This program can be useful in a research to study caged animals’ behaviors. Another example is that it can be used in finding wound sizes after treatments. It also can be applied as fundamental equipment for surveyors that want to record 3D information of the encountering scene. This program can provide 3D positions with neither real measuring nor needs of users’ approximation.

หัวเรื่อง และคำสำคัญ
พิกัด,สามมิติ,ทดลอง,วิทยาศาสตร์,กล้องสองกล้อง,กล้อง,แบบจำลอง
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
โครงงาน
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วันที่เสร็จ
วันพฤหัสบดี, 01 มกราคม 2541
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
นายอานนท์ ยันตรศรี
ระดับชั้น
ม.4
ม.5
ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
  • 6492 โปรแกรมหาพิกัดสามมิติจากแบบจำลองเพื่อการทดลองวิทยาศาสตร์จากกล้องสองกล้องภาคสอง /project/item/6492-2016-09-09-03-51-15-6492
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    Average rating
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

คุณอาจจะสนใจ
โพลิเมอร์ลอกแบบของอนุพันธ์ยูเรีย
โพลิเมอร์ลอกแบบของอนุพันธ์ยูเรีย
Hits ฮิต (79288)
ให้คะแนน
โพลิเมอร์ลอกแบบเป็นโพลิเมอร์ที่มีความสามารถในการสร้างพันธะที่จำเพาะเจาะจงกับโมเลกุลต้นแบบซึ่งในงานว ...
การใช้อนุพันธ์ของ C60 เป็นตัวยับยั้งไวรัส: ศึกษาโดยวิธีด็อกก ...
การใช้อนุพันธ์ของ C60 เป็นตัวยับยั้งไวรั...
Hits ฮิต (77145)
ให้คะแนน
โมเลกุลาร์ด็อกกิ้งถูกนำมาใช้ศึกษาอันตรกิริยาระหว่างอนุพันธ์ของฟุลเลอรีนและเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับกา ...
การศึกษาเชื้อ Streptomyces spp. กับการเป็นปฎิปักษ์ต่อเชื้อ C ...
การศึกษาเชื้อ Streptomyces spp. กับการเป...
Hits ฮิต (69590)
ให้คะแนน
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบศักยภาพของเชื้อ Streptomyces spp. จำนวน 5 ไอโซเลต ได้แก่ LE ...
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. Privacy. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)