logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • คำถามที่พบบ่อย
  • สมัครสมาชิก
  • Forgot your password?
ค้นหา
    
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ

การสังเคราะห์อนุภาคทองคำระดับนาโนเมตร

ชื่อผู้ทำโครงงาน
นาย ปวัฒน์ ไพโรจน์พงศ์พันธ์, นาย คณวัฒน์ จันทรลาวัณย์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
ดร.โรจน์ฤทธิ์ โรจนธเนศ, นางสาว ศศินี อังกานนท์
สถาบันการศึกษา
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
รางวัลที่ได้รับ
-
ระดับชั้น
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ
หมวดวิชา
เคมี
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
การสังเคราะห์อนุภาคทองคำระดับนาโนเมตร รูปภาพ 1
บทคัดย่อ

อนุภาคของทองคำขนาดนาโนเมตรเป็นอนุภาคโลหะที่มีความเสถียรมากที่สุดชนิดหนึ่งและสามารถแสดงสมบัติเชิงแสงและเชิงไฟฟ้าได้เป็นอย่างดี จึงถูกนำไปประยุกต์ใช้ในงานต่างๆได้มากมาย เช่น ตัวตรวจวัดทางชีวภาพ (biosensor) ในโครงงานนี้ศึกษาหาวิธีสังเคราะห์อนุภาคทองคำขนาดนาโนเมตรในน้ำและตัวทำละลายอินทรีย์ และศึกษาหาสภาวการณ์สังเคราะห์ที่แตกต่างกันและมีความเหมาะสมต่อการสังเคราะห์ ได้แก่ ปริมาณของสารละลายทอง ปริมาณของสารช่วยทำให้เสถียร และปริมาณของตัวรีดิวซ์ จากการทดลองพบว่าอนุภาคทองคำในตัวทำละลายอินทรีย์ จะมีความเหมาะสมในการนำไปประยุกต์ใช้ในการทดลองอื่นๆมากกว่าอนุภาคทองคำในตัวทำละลายน้ำ เนื่องจากมีขนาดอนุภาคราว 8-10 นาโนเมตรและมีการกระจายตัวของขนาดอนุภาคต่ำ ทำให้การแสดงคุณสมบัติของทองคำสามารถเป็นไปได้มากกว่า และการเกิดปฏิกิริยาทำได้ง่ายกว่า สำหรับสภาวะที่เหมาสมในการเก็บรักษาคือสภาวะที่แดดส่องไม่ถึง เพื่อลดผลกระทบที่จะมีต่อการกระจายตัวของอนุภาคของทองคำ

หัวเรื่อง และคำสำคัญ
สังเคราะห์,อนุภาค,ทองคำ,ระดับ,นาโนเมตร
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
โครงงาน
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
วันที่เสร็จ
วันพฤหัสบดี, 01 มกราคม 2541
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
นาย ปวัฒน์ ไพโรจน์พงศ์พันธ์, นาย คณวัฒน์ จันทรลาวัณย์
ระดับชั้น
ม.4
ม.5
ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
  • 6462 การสังเคราะห์อนุภาคทองคำระดับนาโนเมตร /project/item/6462-2016-09-09-03-51-05-6462
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    Average rating
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

คุณอาจจะสนใจ
ระบบจัดการนิตยสาร
ระบบจัดการนิตยสาร
Hits ฮิต (74659)
ให้คะแนน
โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำระบบเพื่อใช้การจัดการนิตยสาร วารสาร ทั้งประเภทราย สัปดาห์ รายเดือ ...
Advanced Security Kernel for Linux แก่นความมั่นคงขั้นสูงสำหร ...
Advanced Security Kernel for Linux แก่น...
Hits ฮิต (80223)
ให้คะแนน
ในปัจจุบันได้มีการผลิต Biometric device ออกมามากมาย เช่น Fingerprint device, Handwriting device, We ...
การเปรียบเทียบความสามารถของสารสกัดจากใบทับทิม (Punica graatu ...
การเปรียบเทียบความสามารถของสารสกัดจากใบท...
Hits ฮิต (81104)
ให้คะแนน
ทับทิมเป็นพืชสมุนไพรที่ปลูกกันโดยทั่วไป นอกจากสามารถนำผลมารับประทานแล้วยังมีการนำเปลือกของผล เปลือก ...
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. Privacy. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)