logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • คำถามที่พบบ่อย
  • สมัครสมาชิก
  • Forgot your password?
ค้นหา
    
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ

วิจัยอาหารปลาหางนกยูง

ชื่อผู้ทำโครงงาน
น.ส. นิษณา กาญจนเมฆ
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
ศาสตราจารย์ นพ.ยง ภู่วรวรรณ
สถาบันการศึกษา
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ระดับชั้น
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ
หมวดวิชา
ชีววิทยา
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
วิจัยอาหารปลาหางนกยูง รูปภาพ 1
บทคัดย่อ

ในปัจจุบันได้มีการศึกษา ค้นคว้าและวิจัยสิ่งต่างๆรอบตัวเราอยู่เสมอ อันเป็นสิ่งที่ทำให้สติปัญญาของมนุษย์พัฒนาต่อไปได้อย่างไม่มีขีดจำกัด การที่ได้มาซึ่งความรู้ใหม่ๆจำเป็นต้องอาศัยกระบวนการที่ถูกต้อง ที่จะทำให้ความรู้นั้นไม่ผิดพลาด น่าเชื่อถือ และมีคุณค่า กระบวนการที่ว่านี้ก็คือ ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) ซึ่งประกอบด้วย การสังเกตและตั้งปัญหา การตั้งสมมติฐาน การทดลองเพื่อทดสอบสมมติฐาน และ การวิเคราะห์ การสรุปโครงงาน “วิจัยอาหารปลาหางนกยูง” ถึงแม้จะเป็นเพียงโครงงานวิทยาศาสตร์เล็กๆ แต่ก็ตั้งอยู่บนพื้นฐานของกระบวนการที่ถูกต้อง การสังเกตสิ่งรอบตัวถือเป็นสิ่งแรกของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ผู้จัดทำได้สังเกตและสงสัยว่า ทำไมปลาหางนกยูงที่เลี้ยงจากคนต่างๆกัน จึงมีการเจริญเติบโตต่างกัน มีสีสันต่างกัน มีขนาดต่างกัน จากการสอบถามและค้นคว้าเบื้องต้น ก็ทำให้ทราบ สิ่งหนึ่งที่แตกต่างกันอย่างชัดเจนในการเลี้ยงปลาของแต่ละคน คือ “อาหารปลา” ผู้จัดทำ จึงได้คิดจะตั้งการทดลองเพื่อศึกษาว่า อาหารปลาที่ต่างชนิดกันมีผลต่ออาการเจริญเติบโตของปลาหางนกยูงหรือไม่ อย่างไร ในการทดลอง ผู้จัดทำได้พยายามหาความแตกต่างของอาหารที่ใช้ อาหารเหล่านี้ได้มาจากการแนะนำของผู้ที่เลี้ยงปลาอยู่แล้วบ้าง จากตัวผู้จัดทำเองบ้าง จนในที่สุดได้อาหารทดลองมา 4 ชนิด คือ สาหร่าย หมูต้ม อาหารปลาสำเร็จรูป(ชนิดเม็ด) และไข่แดง เริ่มต้นการทดลองโดยการคัดเลือกลูกปลาหางนกยูงอายุและขนาดเท่าๆกันจำนวนหนึ่ง แบ่งเป็น 4 ชุดเพื่อทดลองให้อาหารจากอาหารปลาทั้ง 4 ชนิด โดยแต่ละชุดจะมีการแบ่งเป็นกลุ่มเล็กๆอีก เพื่อให้ลูกปลาได้อาหารอย่างเพียงพอและลดความคลาดเคลื่อนของการทดลองให้อาหารลูกปลาวันละ 1 ครั้ง เป็นเวลาประมาณ 6 สัปดาห์ มีการวัดความยาวที่เพิ่มขึ้นของลูกปลาทุก 3 วันสังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงของลูกปลาที่เกิดขึ้น เมื่อครบระยะเวลาที่กำหนด ปรากฏว่า ลูกปลาที่ได้รับไข่แดงทุกวันเป็นเวลา 6 สัปดาห์นั้นทีการเจริญเติบโตดีที่สุด รองลงมา คือ อาหารสำเร็จรูป หมูต้ม และสาหร่าย ซึ่งเมื่อนำผลการทดลองนี้มาวิเคราะห์พบว่า การที่ลูกปลาเจริญเติบโตต่างกัน แสดงว่าน่าจะมีสารอาหารที่แตกต่างกันในแต่ละชนิดของอาหาร ที่พบค่อนข้างชัดเจนก็เป็นพวก โปรตีน อย่างไรก็ตามผลการทดลองนี้ก็ยังสรุปไม่ได้แน่ชัดว่า สารใดที่ทำให้เกิดความแตกต่างของการเจริญเติบโตที่แท้จริง และเนื่องจากใช้อาหารทดลองเพียง 4 ชนิด จึงยังสรุปอะไรไม่ได้แน่ชัด100% การทดลองนี้จะเป็นประโยชน์ต่อบุคคลทั่วไปโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผู้ที่สนใจเลี้ยงปลาหางนกยูง ไม่ว่าจะเป็นเลี้ยงเพื่อความเพลิดเพลินหรือเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ เนื่องจากปัจจุบัน การเลี้ยงปลาเพื่อความสวยงาม และส่งออกขายตามที่ต่างๆทั้งในและต่างประเทศ สามารถสร้างรายได้ให้แก่ผู้ประกอบการทางด้านนี้จำนวนมาก ถ้าเราสามารถผลิตสิ่งต่างๆได้เอง เช่น อาหารปลาเพื่อเร่งการเจริญเติบโต ประเทศชาติก็จะไม่ต้องประสบกับภาวะขาดดุลการค้าอย่างที่เคยมา ผู้จัดทำมีความคิดว่า ควรมีการทำโครงการลักษณะนี้กับสัตว์เศรษฐกิจและพืชเศรษฐกิจหลายๆประเภท เพื่อทำให้เกิดประโยชน์ในระยะยาว เราอาจไม่ต้องพึ่งพาอาหารจากต่างชาติอีกต่อไป

ดาวน์โหลด
file 1
หัวเรื่อง และคำสำคัญ
ปลา,หาง,นกยูง
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
โครงงาน
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วันที่เสร็จ
วันพฤหัสบดี, 01 มกราคม 2541
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
น.ส. นิษณา กาญจนเมฆ
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
บุคคลทั่วไป
  • 4989 วิจัยอาหารปลาหางนกยูง /project/item/4989-2016-09-09-03-25-21_4989
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    Average rating
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

คุณอาจจะสนใจ
Analysis of homocysteine and glutathione with electrochemica ...
Analysis of homocysteine and glutathione...
Hits ฮิต (75453)
ให้คะแนน
A fast method for determination of homocysteine and glutathione using an electrochemical microchip ...
การวิเคราะห์การตกของวัตถุภายใต้สนามโน้มถ่วงโลก
การวิเคราะห์การตกของวัตถุภายใต้สนามโน้มถ...
Hits ฮิต (80063)
ให้คะแนน
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง “การวิเคราะห์การตกของวัตถุภายใต้สนามโน้มถ่วงโลก” เป็นโครงงานเชิงทฤษฎีที่ศึ ...
การใช้เปลือกเม็ดมะขามป้องกันการหืนของน้ำมันมะพร้าว
การใช้เปลือกเม็ดมะขามป้องกันการหืนของน้ำ...
Hits ฮิต (91713)
ให้คะแนน
น้ำมันมะพร้าวที่เก็บ ณ อุณหภูมิปกติจะเกิดกลิ่นเหม็นหืน (oxidizing flavor) จากปฏิกิริยาออกซิเดชันซึ่ ...
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. Privacy. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)