logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • คำถามที่พบบ่อย
  • สมัครสมาชิก
  • Forgot your password?
ค้นหา
    
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ

Anti-inflammatory activity of extract from Caesalpinia mimosoides Lamk.

ชื่อผู้ทำโครงงาน
นายธีรพงศ์ ยะทา
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ดร.อำไพ ปั้นทอง
สถาบันการศึกษา
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ระดับชั้น
ปริญญาโทขึ้นไป
หมวดวิชา
ชีววิทยา
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
Anti-inflammatory activity of extract from Caesalpinia mimos ... รูปภาพ 1
บทคัดย่อ

เป็นที่น่าสังเกตว่า ในการปรุงอาหารพื้นบ้านทางภาคเหนือที่ใช้หน่อไม้เป็นส่วนประกอบ มักรับประทานผักหนามปู่ย่าเป็นผักแนมน้ำพริกด้วยเสมอ และจากการหาข้อมูลเกี่ยวกับหน่อไม้ พบว่า หน่อไม้นั้นมีกรดยูริก (uricacid) ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้เกิดการอักเสบ และอาการปวดตามข้อต่างๆ ของร่างกาย ดังนั้นผักหนามปู่ย่านี้ จึงน่าจะมีฤทธิ์ในการต้านการอักเสบ ผู้คนในภาคเหนือจึงนำผักหนามปู่ย่ามารับประทานกับหน่อไม้เพื่อเป็นการป้อกัน นอกจากนี้ยังพบว่าไม่มีงานวิจัยใดเกี่ยวกับการทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพของผักหนามปู่ย่าเลยทั้งในประเทศและต่างประเทศ ดังนั้นจึงได้สนใจที่จะทำการทดสอบคุณสมบัติดั่งกล่าว ตอนที่ 1 แบบจำลอง EPP-induced ear edema ในหนูขาว เป็นแบบจำลองการอักเสบเฉียบพันที่ใช้สำหรับการทดสอบสารที่มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ โดยมีฤทธิ์ยับยั้งอาการบวมที่มีสาเหตุมาจากการเพิ่มขึ้นของการรั่วไหลของเหลวจากหลอมเลือด (vascular permeability) ซึ่งในการทดลองจะใช้สาร EPP เป็นตัวกระตุ้นให้เกิดอาการบวมของหนู โดยแบ่งการทดลองเป็น 3 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มควบคุม ได้รับ สารทำละลาย 2. กลุ่มยามาตรฐาน คือ Phenylbutazone 3. กลุ่มที่ได้รับสารสกัดจากผักหนามปู่ย่า วัดความหนาของหูหนูก่อนทดลอง จากนั้นทาสารทดสอบบนใบหูหนูทั้งด้านในและด้านนอก ตามด้วย EPP ทันทีเพื่อชักนำให้เกิดการบวมขึ้น วัดความหนาของใบหูหนูที่เวลา 15, 30, 60 และ 120 นาที คำนวณหาเปอร์เซ็นต์ยับยั้งการบวมของใบหูหนูที่เวลาต่าง ๆ ผลการทดลองพบว่าสารสกัดจากผักหนามปู่ย่ามีฤทธิ์ลดการบวมของหูหนูได้ดีพอ ๆ กับยามาตรฐาน ตอนที่ 2 Carragenine-induced hind paw edema ในหนูขาว เป็นแบบจำลองการอักเสบเฉียบพลันที่ใช้สำหรับทดสอบสารที่มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ โดยมีฤทธิ์ยับยั้งอาการบวมที่มีสาเหตุมาจาก Arachidonic acid metabolism ผ่าน Cyclopoxygenase pathway โดย Carragenine เป็นตัวทำให้เกิดการบวมของอุ้งเท้าหนู แบ่งการทดลองเป็น 3 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มควบคุม ได้รับน้ำ 2. กลุ่มยามาตรฐาน ได้รับ lndomethacin 3. กลุ่มทดสอบ ได้รับสารสกัดจากผักหนามปู่ย่า วัดปริมาณอุ้งเท้าหนูด้านขาวด้วยเครื่อง Plethysmometer ให้ยาและสารทดลองตามกลุ่มจากนั้นฉีด Carragenine เพื่อเหนี่ยวนำให้เกิดการบวมของอุ้งเท้า วัดปริมาตรอุ้งเท้าด้วย Plethysommeter ที่เวลา 1 , 3 และ 5 ชั่วโมง คำนวณหาเปอร์เซ็นต์การยับยั้งการบวมของอุ้งเท้าหนู ที่เวลาต่าง ๆ ผลการทดลองคือ สารสกัดจากผักหนามปู่ย่ามีฤทธิ์ยับยั้งการบวมของอุ้งเท้าหนูได้ปานกลางเมื่อเทียบกับยามาตรฐาน ตอนที่ 3 Arachidon acid-induced hind paw edema ในหนูขาว เป็นแบบจำลองการอักเสบเฉียบพลันที่ใช้สำหรับทดลองสารที่มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ โดยมีฤทธิ์ยับยั้งอาการบวมที่มีสาเหตุมาจาก Arachidonic acid metabolism ผ่าน Lipoxygenase pathway ซึ่งจะใช้ Arachidonic acid เป็นตัวทำให้เกิดการบวมของอุ้งเท้าหนูโดยแบ่งการทดลองออกเป็น 3 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มควบคุม ได้รับน้ำ 2. กลุ่มยามาตรฐาน ได้รับ Phenidone ขนาด 3. กลุ่มยามาตรฐาน lndomethacin 4. กลุ่มทดสอบ ได้รับสารสกัดจากผักหนามปู่ย่า ทำการทดลองโดยวัดอุ้งเท้าหนูด้านขาวด้วยเครื่อง Plethysommeter ให้ยาและสารทดสอบตามกลุ่ม จากนั้นฉีด Arachidonic acid เพื่อเหนี่ยวนำให้เกิดการบวมของอุ้มเท้า วัดปริมาตรของอุ้งเท้าด้วย Plethysmometer ที่เวาล 1 ชั่วโมง คำนวณหาเปอร์เซ็นต์ยับยั้งการบวมของอุ้มเท้าหนู ที่เวลาต่าง ๆ ผลการทดลอง คือ สารสกัดจากผักนามปู่ย่ามีฤทธิ์ยับยั้งการบวมของอุ้งเท้าหนูน้อยมากเมื่อเทียบกับยามมาตรฐาน

ดาวน์โหลด
file 1
หัวเรื่อง และคำสำคัญ
Anti-inflammatory,activity,xtract
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
โครงงาน
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วันที่เสร็จ
วันพฤหัสบดี, 01 มกราคม 2541
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
นายธีรพงศ์ ยะทา
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
บุคคลทั่วไป
  • 4856 Anti-inflammatory activity of extract from Caesalpinia mimosoides Lamk. /project/item/4856-anti-inflammatory-activity-of-extract-from-caesalpinia-mimosoides-lamk
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    Average rating
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

คุณอาจจะสนใจ
ผลของสนามแม่เหล็กภายนอกต่อสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน
ผลของสนามแม่เหล็กภายนอกต่อสเปกตรัมของอะต...
Hits ฮิต (73504)
ให้คะแนน
อะตอมไฮโดรเจนเป็นอะตอมพื้นฐาน การศึกษาโครงสร้างของอะตอมไฮโดรเจนจะช่วยให้เราสามารถเข้าใจโครงสร้างของ ...
ระบบบันทึกประวัติศาสตร์แบบเปิดเสรี Wikihistoria
ระบบบันทึกประวัติศาสตร์แบบเปิดเสรี Wikih...
Hits ฮิต (78650)
ให้คะแนน
ระบบบันทึกประวัติศาสตร์แบบเปิดเสรี เป็นเว็บแอ็พพลิเคชั่นช่วยให้คนไทยสามารถจดบันทึกและตรวจสอบประวัติ ...
ซิ่งฟัดแว้น ณ ภูกระดึง Siam Running @ Phukradung
ซิ่งฟัดแว้น ณ ภูกระดึง Siam Running @ Ph...
Hits ฮิต (80600)
ให้คะแนน
เกมเป็นส่วนหนึ่งที่เติบโตมาพร้อมกับคอมพิวเตอร์ เหตุผลที่เกมส์ได้รับความนิยมมาก เนื่องจากสามารถให้คว ...
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. Privacy. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)