logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • คำถามที่พบบ่อย
  • สมัครสมาชิก
  • Forgot your password?
ค้นหา
    
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ

การวิเคราะห์ค่าสนามโน้มถ่วงของ อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ชื่อผู้ทำโครงงาน
สันติชัย ชำนาญ
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
วรวุฒิ โลหะวิจารณ์
สถาบันการศึกษา
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ระดับชั้น
ปริญญาโทขึ้นไป
หมวดวิชา
ฟิสิกส์
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
การวิเคราะห์ค่าสนามโน้มถ่วงของ อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ ... รูปภาพ 1
บทคัดย่อ

ได้ทำการวัดค่าสนามโน้มถ่วงในพื้นที่ตำบลบ้านส้อง อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ในการทำการสำรวจครั้งนี้ประกอบด้วยสถานีวัด 72 สถานี ด้วยระยะห่างระหว่างสถานี 1 กิโลเมตร โดยมีพื้นที่ศึกษาทั้งหมด 280 ตารางกิโลเมตร โดยจุดมุ่งหมายในการศึกษาครั้งนี้เพื่อกำหนดขอบเขตของพื้นที่ที่มีค่าสนามโน้มถ่วงต่ำเนื่องจากโพรงใต้ดิน ผลการศึกษาบริเวณที่มีค่าสนามโน้มถ่วงต่ำ -30 gu พบในพื้นที่บ้านนาชุมเห็ด-บ้านส้อง บ้านควนเจริญและบ้านเวียงสระ ซึ่งอยู่ระหว่างละติจูดที่ 539000-542000 ในแนวตะวันออก-ตกและระหว่างลองติจูดที่ 952000-954000 ในแนวเหนือ-ใต้ แบบจำลองของโพรงใต้ดินซึ่งอธิบายว่าสนามโน้มถ่วงต่ำดังกล่าวจะมีปริมาตรเฉลี่ยประมาณ 1.3×108 ลูกบาศก์เมตร และระดับความลึกเฉลี่ยประมาณ 456 เมตร เมื่อแบบจำลองดังกล่าวมีน้ำอยู่เต็ม และมีปริมาตรเฉลี่ยประมาณ 1.1×108 ลูกบาศก์เมตร เมื่อให้โพรงดังกล่าวมีอากาศทั้งหมด ที่ระดับความลึกจากผิวดินโดยเฉลี่ยประมาณ 601 เมตร -------------------------------------------------------------------- Abstract : Gravitational measurements were conducted in Bansong Subdistrict, Wiang Sa District, Surat Thani Province. The measurements comprised 72 stations with station interval 1 km. and covered an area of 280 km2. The aim of this study is to delineate areas of low gravity anomalies with underground cavities.Low gravity of -30 gu in Bannasumhet-Bansong,Bankhanjarean, and Banwiang Sa between 539000E to 542000E and 952000N to 954000N.In this study underground cavity was considered as causative bodies of low gravity anomaly.From gravity modeling, the volume will be 1.3×108 m3 and is 456 m. below ground surface, and if it is filled with water. However its volume will be 1.1×108 m3 and it is 270 m. below ground surface, if it is filled with air.

หัวเรื่อง และคำสำคัญ
วิเคราะห์,ค่า,สนาม,โน้ม,ถ่วง
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
โครงงาน
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วันที่เสร็จ
วันพฤหัสบดี, 01 มกราคม 2541
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
สันติชัย ชำนาญ
ระดับชั้น
ม.4
ม.5
ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
  • 6145 การวิเคราะห์ค่าสนามโน้มถ่วงของ อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี /project-other/item/6145-2016-09-09-03-45-59-6145
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    Average rating
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

คุณอาจจะสนใจ
การศึกษา Physical Organic Chemistry และสังเคราะห์สารจำพวก ³  ...
การศึกษา Physical Organic Chemistry และส...
Hits ฮิต (77275)
ให้คะแนน
การสังเคราะห์สารจำพวก γ – Alkyl – β – cerbomethoxy – α – methyl – γ – butyrolactones โดยใช้ปฏิกิริย ...
ไซเบอร์เนติก เรฟโวลูชัน
ไซเบอร์เนติก เรฟโวลูชัน
Hits ฮิต (88129)
ให้คะแนน
เนื่องจากปัจจุบัน เกมการ์ดในคอมพิวเตอร์มักจะมีรูปแบบการควบคุมที่ใช้เพียงเมาส์ และคีย์บอร์ด ซึ่งไม่ม ...
การศึกษาพฤติกรรม และศักยภาพในการเป็นพาหะนำโรคพยาธิหัวใจสุนัข ...
การศึกษาพฤติกรรม และศักยภาพในการเป็นพาหะ...
Hits ฮิต (78150)
ให้คะแนน
เนื่องด้วยในขณะนี้โรคพยาธิหัวใจสุนัข (Canine Heartworm Disease) กำลังเป็นปัญหาสำคัญของวงการสัตวแพทย ...
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. Privacy. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)