logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • คำถามที่พบบ่อย
  • สมัครสมาชิก
  • Forgot your password?
ค้นหา
    
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ

การจำลองพลวัตเชิงโมเลกุลของสารละลายลิเทียม – แอมโมเนียที่ความเข้มข้น 19.6 MPM โดยใช้ศักย์เทียม

ชื่อผู้ทำโครงงาน
พัทธดนย์ วะนานาม
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
เทวัญ เริ่มสูงเนิน
สถาบันการศึกษา
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ระดับชั้น
ปริญญาโทขึ้นไป
หมวดวิชา
คณิตศาสตร์
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
การจำลองพลวัตเชิงโมเลกุลของสารละลายลิเทียม – แอมโมเนียที่ควา ... รูปภาพ 1
บทคัดย่อ

การจำลองแบบพลวัตเชิงโมเลกุลของสารละลายลิเทียมในแอมโมเนียที่ความเข้มข้นสูงโดยใช้ทฤษฎีศักย์เทียม ระบบที่ศึกษาประกอบด้วย แอมโมเนีย 205 โมเลกุล ลิเทียมไอออน 50 ไอออน และอิเล็กตรอนอิสระ 50 ตัว มีความเข้มข้น 19.6 MPM ณ อุณหภูมิ 260 K ผลของการศึกษาพบว่า การรวมผลของศักย์เทียมทำให้ขนาดของแรงกระทำระหว่างอนุภาคในระบบลดน้อยลง เมื่อเทียบกับใช้แบบจำลองแรงกระทำระหว่างอนุภาคอย่างเดียว และโครงสร้างของสารละลายสามารถหาได้จากฟังก์ชันการกระจายตัวเชิงรัศมี ซึ่งค่าที่ได้สอดคล้องกับการทดลอง -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- Abstract : The results of molecular dynamics simulations of lithium– ammonia solution using pseudo potential for the highest concentration, 19.6 MPM at 260 K are reported. The system consisted of 205 ammonia molecules, 50 Li ions and 50 free electrons.The contribution of pseudo potential theory results in a strong screening of the intermolecular interaction. The structural properties of a solution obtained via radial distribution functions are well in agreement with experiment information.

หัวเรื่อง และคำสำคัญ
พล,วัต,เชิง,โม,เล,กุล,สาร,ละ,ลา,ยลิ,เทียม,แอม,โม,เนีย,ศักย์,เทียม
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
โครงงาน
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วันที่เสร็จ
วันพฤหัสบดี, 01 มกราคม 2541
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
พัทธดนย์ วะนานาม
ระดับชั้น
ม.4
ม.5
ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
  • 6098 การจำลองพลวัตเชิงโมเลกุลของสารละลายลิเทียม – แอมโมเนียที่ความเข้มข้น 19.6 MPM โดยใช้ศักย์เทียม /project-mathematics/item/6098-19-6-mpm
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    Average rating
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

คุณอาจจะสนใจ
การศึกษาความเป็นไปได้ของการตรวจสอบคุณภาพผลไม้โดยวิธีทางเสปกโ ...
การศึกษาความเป็นไปได้ของการตรวจสอบคุณภาพ...
Hits ฮิต (69175)
ให้คะแนน
ในการทดลองได้ใช้เทคนิคทางแสงคือการเรืองแสงของผลไม้จากการกระตุ้นด้วยแสงเลเซอร์กำลังต่ำ ระบบประกอบด้ว ...
มวยไทย ไกลก้องโลก
มวยไทย ไกลก้องโลก
Hits ฮิต (82049)
ให้คะแนน
ในประวัติศาสตร์มวยไทยนั้นเรื่องที่มักกล่าวขานต่อๆกันมา ได้แก่ เรื่องของพระเจ้าเสือและนายขนมต้มพระเจ ...
ผลของปริมาณแป้งต่อสมบัติเชิงกลและความสามารถในการย่อยสลายของพ ...
ผลของปริมาณแป้งต่อสมบัติเชิงกลและความสาม...
Hits ฮิต (69486)
ให้คะแนน
จากการศึกษาอิทธิพลของปริมาณแป้งมีผลต่อสมบัติเชิงกลและความสามารถในการย่อยสลายของพอลิเมอร์ผสมระหว่างพ ...
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. Privacy. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)