การศึกษาความแปรปรวนของสนามแม่เหล็กบริเวณโคโรนาของดวงอาทิตย์
ชื่อผู้ทำโครงงาน
นายรักพงษ์ กิตตินราดร
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
รศ.ดร.เดวิด รูฟโฟโล
สถาบันการศึกษา
มหาวิทยาลัยมหิดล
ระดับชั้น
ปริญญาโทขึ้นไป
หมวดวิชา
ฟิสิกส์
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
บทคัดย่อ
บรรยากาศชั้นโคโรนาของดวงอาทิตย์เป็นบริเวณที่มีสมบัติทางฟิสิกส์ที่น่าสนใจ กลไกการส่งถ่ายพลังงานมายังบรรยากาศในชั้นนี้เป็นที่สนใจของนักฟิสิกส์ ในปี 1999 ดาวเทียม TRACE ได้พบโครงสร้างที่น่าสนใจเรียกว่า moss ในบริเวณฐานของ coroma loop มีลักษณะเป็นหย่อมมืดและสว่างปะปนกัน ลักษณะเช่นนี้คล้ายกับปรากฏการณ์ dropout ของลมสุริยะเราจึงใช้ทฤษฎีที่อธิบายปรากฏการณ์ dropout มาอธิบายโครงสร้างของ moss โดยแบ่งเป็น 2 ส่วนเป็นการวิเคราะห์ทางทฤษฎีและการจำลองโดยใช้คอมพิวเตอร์ ในส่วนของทฤษฎีเราพบว่าสามารถอธิบาย moss ได้ด้วยวิธีเดียวกันกับปรากฏการณ์ dropout แต่การจำลองทางคอมพิวเตอร์ให้ผลขัดแย้งกับภาพที่ได้จากดาวเทียม
ดาวน์โหลด
คำสำคัญ
สนาม,แม่เหล็ก,โคโรนา,ดวงอาทิตย์
ประเภท
Text
ลิขสิทธิ์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
นายรักพงษ์ กิตตินราดร
กลุ่มเป้าหมาย
ครู, นักเรียน, บุคคลทั่วไป
คุณอาจจะสนใจ
Hits
(80,374)

ให้คะแนน
จากการศึกษาพฤติกรรมการสุกของกล้วยไข่ที่เก็บรักษาในบรรจุภัณฑ์ดัดแปลงบรรยากาศ (Modified Atmosphere ...
Hits
(83,009)

ให้คะแนน
จำนวนกำลังสอง (Square number) เป็นจำนวนเต็มบวกชนิดหนึ่งในคณิตศาสตร์ที่น่าสนใจ ...
Hits
(77,728)

ให้คะแนน
โครงงานนี้ศึกษาการออกแบบโปรโตคอลของลุนด์ ซึ่งถูกออกแบบโดยชุดโปรแกรม SAS 4000 ...