logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • คำถามที่พบบ่อย
  • สมัครสมาชิก
  • Forgot your password?
ค้นหา
    
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ

การวิเคราะห์ค่าสนามโน้มถ่วงของจังหวัดระนอง

ชื่อผู้ทำโครงงาน
จุรีรัตน์ หนูชู
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรวุฒิ โลหะวิจารณ์
สถาบันการศึกษา
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
รางวัลที่ได้รับ
-
ระดับชั้น
ปริญญาโทขึ้นไป
หมวดวิชา
ฟิสิกส์
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
การวิเคราะห์ค่าสนามโน้มถ่วงของจังหวัดระนอง รูปภาพ 1
บทคัดย่อ

ได้ทำการวัดและแปลความข้อมูลค่าสนามโน้มถ่วงในพื้นที่จังหวัดระนอง จำนวน 200 สถานี ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด 80x40 ตารางกิโลเมตร มีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยาในแนวราบและในแนวดิ่ง คอนทัวร์ค่าผิดปกติบูแกร์ของจังหวัดระนองมีการวางตัวในแนวเหนือใต้ โดยจะมีค่าสนามโน้มถ่วงสูงในทิศตะวันตกและทิศเหนือ ในบริเวณตอนกลางค่าสนามโน้มถ่วงจะลดลงเพิ่มขึ้นเล็กน้อยและจะลดลงอีกครั้งในทิศตะวันออก เมื่อเทียบเคียงคอนทัวร์ค่าผิดปกติบูแกร์กับแผนที่ธรณีวิทยา พบว่าในพื้นที่ซึ่งเป็นหินแกรนิตค่าผิดปกติบูแกร์มีค่าต่ำกว่า -75 gu ในพื้นที่ซึ่งปกคลุมด้วยหินควาเทอร์นารี ในพื้นที่ทางทิศตะวันตกมีค่าผิดปกติบูแกร์ระหว่าง -75 gu ถึง 20 gu และในพื้นที่ของหินเพอร์เมียน-คาร์บอนิเฟอรัส ทางทิศตะวันออก ค่าผิดปกติบูแกร์มีค่าอยู่ระหว่าง 0 gu ถึง -90gu ผลการวัดความหนาแน่นของตัวอย่างหินได้ว่าหินแกรนิตมีความหนาแน่น 2,620 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร หินควาเทอร์นารี มีความหนาแน่น 2,000 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร หินเพอร์เมียน –คาร์บอนิเฟอรัส มีความหนาแน่น 2,320 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร แต่จากการสำรวจพบว่าค่าสนามโน้มถ่วงมีค่าเป็นลบบนพื้นที่หินแกรนิต แสดงว่าหินท้องที่มีความหนาแน่นสูงกว่าหินแกรนิต ในการศึกษาครั้งนี้จึงให้หินปูนเป็นท้องที่ และจากการสร้างแบบจำลองจะได้ว่าหินแกรนิตมีความหนาประมาณ 2,500 เมตร และพบแหล่งน้ำพุร้อนวางตัวบริเวณขอบตะวันตกของหินแกรนิต ----------------------------------------------------------------------------------------- A gravity measurements and data interpretation were carried out in Ranong. The measurements comprised 200 station and covered an area of 80x40 km2. The purpose of this study was to determine the geological structures of the area. Bouguer anomaly of study area was high in the North and the West low in the center and intermediate in the East. Comparing Bouguer anomaly with geological map,Bouguer anomaly of less than -75 gu was observed on granite rock. Bouguer anomaly of -75 gu to 20 gu on Quaternary sediment. On the East, Bouguer anomaly of 0 gu to -90 gu on Carboniferous Permian rocks. Results from density measurement show that density of granite rock was 2,620 kg/m3 , density of Quaternary sediment was 2,000 kg/m3and density of Carboniferous Permian rocks was 2,320 kg/m3.Because Bouguer anomaly was negative on granite rock indicated that density of surrounding rock was higher than granite. From gravity modeling , granite was 2.5 km deep and hot spring observed on the west rim of granite

หัวเรื่อง และคำสำคัญ
วิเคราะห์,ค่าสนามโน้มถ่วง
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
โครงงาน
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วันที่เสร็จ
วันพฤหัสบดี, 01 มกราคม 2541
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
จุรีรัตน์ หนูชู
ระดับชั้น
ม.4
ม.5
ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
  • 6315 การวิเคราะห์ค่าสนามโน้มถ่วงของจังหวัดระนอง /project-chemistry/item/6315-2016-09-09-03-49-07-6315
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    Average rating
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

คุณอาจจะสนใจ
สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง ระบบกายวิภาคภายในของมนุษย์
สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง ระบบกายวิภาคภายใน...
Hits ฮิต (69752)
ให้คะแนน
กลไกของระบบอวัยวะภายในร่างกายนั้น มีการทำงานที่ค่อนข้างซับซ้อน การทำงานใน แต่ละระบบ อาทิ ระบบหายใจ ...
โปรแกรมสร้างเสียงภาษาไทยจากข้อความบนโทรศัพท์มือถือ SMART PHO ...
โปรแกรมสร้างเสียงภาษาไทยจากข้อความบนโทรศ...
Hits ฮิต (81795)
ให้คะแนน
ในปัจจุบันเทคโนโลยีก็ได้มีการพัฒนาไปมากโดยเฉพาะทางด้านการสื่อสาร แต่ยังคงมีผู้ใช้เทคโนโลยีด้านการสื ...
Production Air Filter for Color Coating Industry
Production Air Filter for Color Coating ...
Hits ฮิต (76166)
ให้คะแนน
This paper was to found the ratio and optimum condition of activated carbon production from durian ...
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. Privacy. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)