logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • คำถามที่พบบ่อย
  • สมัครสมาชิก
  • Forgot your password?
ค้นหา
    
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ

ผลของความเค็มต่อการเพิ่มจำนวนเซลล์ของ SKELETONEMA COSTATUM

ชื่อผู้ทำโครงงาน
นางสาวกนกวรรณ กาวิเศษ, นางสาววรภา วราธนกุล, นางสาวจันทนา กาลพัฒน์, นางสาวศิริวรรณ ศิรินินทศักดิ์, นางสาวปรารีชาติ บุญสุข
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
อ.อรอนงค์ วทัญญุตา, คุณธีรพงศ์ ไกรนรา, คุณพรจันทร์ พวงแก้ว, คุณกรกนก ชูมณี
สถาบันการศึกษา
โรงเรียนสตรีภูเก็ต
รางวัลที่ได้รับ
-
ระดับชั้น
มัธยมปลาย
หมวดวิชา
ชีววิทยา
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
ผลของความเค็มต่อการเพิ่มจำนวนเซลล์ของ SKELETONEMA COSTATUM รูปภาพ 1
บทคัดย่อ

การศึกษา เรื่อง ผลของความเค็มต่อการเพิ่มจำนวนเซลล์ของสเกลีโตนีมา คอสตาตัม (Skeletonema Costatum) มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบระดับความเค็มที่เหมาะสมต่อการเพิ่มจำนวนเซลล์ของ สเกลีโตนีมา คอสตาตัม เพื่อนำผลที่ได้ไปใช้ในการผลิตสเกลีโตนีมา คอสตาตัม เพื่อใช้อนุบาลลูกสัตว์น้ำในวัยอ่อน การทดลองเพื่อหาระดับความเค็มที่เหมาะสมต่อการเพิ่มจำนวนเซลล์ของสเกลีโตนีมา คอสตาตัม ทำได้โดยเตรียมน้ำทะเลที่ระดับความเค็มต่างๆ 5 ระดับ คือ 15 20 25 30 และ 35 ส่วนในพันส่วน ใส่ในขวดโหลขนาด 10 ลิตร เติมปุ๋ยสูตร Liao and Huang’ s Modified TMRL Medium (1,000 X) ปริมาณ 10 มิลลิลิตรลงในขวดโหลทุกโหล ติดตั้งอุปกรณ์ให้ก๊าซออกซิเจน เติมหัวเชื้อที่มีจำนวนเซลล์เริ่มต้น 1,000 เซลล์ต่อมิลลิเมตร ปริมาณ 10 มิลลิเมตร ลงในขวดโหลทุกใบพร้อมๆ กัน ทำการทดลองซ้ำ 2 ชุด สังเกตและนับจำนวนเซลล์ของสเกลีโตนีมา คอสตาตัม ทุกๆ 12 ชั่วโมง เป็นเวลา 6 วัน โดยการสุ่มตัวอย่างขึ้นมานับ จากผลการทดลองปรากฏว่าที่ระดับความเค็ม 25 ส่วนในพันส่วนสเกลีโตนีมา คอสตาตัม มีการเพิ่มจำนวนเซลล์มากที่สุด รองลงมาคือ ที่ระดับความเค็ม 20 30 35 และ 15 ส่วนในพันส่วนตามลำดับ

หัวเรื่อง และคำสำคัญ
เค็ม,เพิ่ม,จำนวน,เซลล์,SKELETONEMA,COSTATUM
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
โครงงาน
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
โรงเรียนสตรีภูเก็ต
วันที่เสร็จ
วันพฤหัสบดี, 01 มกราคม 2541
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
นางสาวกนกวรรณ กาวิเศษ, นางสาววรภา วราธนกุล, นางสาวจันทนา กาลพัฒน์, นางสาวศิริวรรณ ศิรินินทศักดิ์, นางสาวปรารีชาติ บุญสุข
ระดับชั้น
ม.4
ม.5
ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
  • 6616 ผลของความเค็มต่อการเพิ่มจำนวนเซลล์ของ SKELETONEMA COSTATUM /project-biology/item/6616-skeletonema-costatum
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    Average rating
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

คุณอาจจะสนใจ
โครงการการพัฒนาและประเมินสมรรถนะของการควบคุมสัญญาณไฟจราจรแบบ ...
โครงการการพัฒนาและประเมินสมรรถนะของการคว...
Hits ฮิต (72654)
ให้คะแนน
ค่านิยมของคนไทยที่จะมีรถยนต์ส่วนตัวใช้ในการเดินทาง เป็นสิ่งที่แก้ไขได้ยาก ดังนั้นแนวคิดที่จะแก้ปัญห ...
การโคลนและวิเคราะห์ลักษณะของยีนที่มีความเกี่ยวข้องกับพัฒนากา ...
การโคลนและวิเคราะห์ลักษณะของยีนที่มีความ...
Hits ฮิต (70969)
ให้คะแนน
กุ้งกุลาดำนั้นประสบปัญหาเกี่ยวกับการไม่เจริญพันธุ์ของกุ้งกุลาดำเพศเมียในภาวะเพาะเลี้ยง ส่งผลให้ โปร ...
การศึกษาความเป็นพิษของสารสกัดจากขมิ้นเครือ
การศึกษาความเป็นพิษของสารสกัดจากขมิ้นเคร...
Hits ฮิต (77891)
ให้คะแนน
ขมิ้นเครือ ( Fibraurea tinctoria ) เป็นพืชสมุนไพรท้องถิ่นในภาคใต้ของประเทศไทย ที่ยังมีการศึกษาเกี่ย ...
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. Privacy. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)