logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • คำถามที่พบบ่อย
  • สมัครสมาชิก
  • Forgot your password?
ค้นหา
    
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ

การลดปริมาณเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลโดยใช้พืชสมุนไพร

ชื่อผู้ทำโครงงาน
นายสมรัฐ เชตนุช, นายเมธี กลิ่นอุบล, น.ส.ธนิษฐา รุ่งรังสี, น.ส.ธนัฒพร รัศมีทธิ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
อ.มหินท์ แต่งสกุล, อ.วสันต์ ภูวสรรเพชญ , อ.สุวิทย์ ศิลปะสุวรรณ์
สถาบันการศึกษา
โรงเรียนนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์
รางวัลที่ได้รับ
-
ระดับชั้น
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ
หมวดวิชา
ชีววิทยา
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
การลดปริมาณเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลโดยใช้พืชสมุนไพร รูปภาพ 1
บทคัดย่อ

เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลเป็นศัตรูข้าวอันดับหนึ่งของประเทศไทยในปัจจุบัน ดังเช่นเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2533-2534 เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลได้ระบาดอย่างหนักและทำความเสียหายให้กับนาข้าวในแถบจังหวัดภาคกลางทำให้เกษตรกรบางรายถึงกับสิ้นเนื้อประดาตัว สาเหตุสำคัญที่ทำให้เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลระบาดคือ เกษตรกรใช้พันธุ์ข้าวที่ให้ผลผลิตมาก แต่ความต้านทานต่ำและใช้สารเคมีกำจัดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ซึ่งสารเคมีนี้มีผลกระทบกับตัวห้าที่เป็นศัตรูตามธรรมชาติของเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล จึงทำให้เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลไม่มีศัตรูตามธรรมชาติถ่วงสมดุล ทางคณะผู้จัดทำจึงมีความคิดที่จะช่วยเหลือเกษตรกรที่เดือดร้อนซึ่งเราพบว่า สารสกัดจากสะเดามีผลทำให้กระบวนการสร้างสาร “ไคติน” ซึ่งเป็นสารประกอบสำคัญของเปลือกห่อหุ้มตัวแมลงผิดปกติไปทางคณะผู้จัดทำจึงนำสารที่สกัดจากสะเดามาทำการทดลองกับเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ผลในการลดปริมาณเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลไม่เป็นที่น่าพอใจ จึงนำสารสมุนไพรชนิดอื่น ได้แก่ ข่า, ตะไคร้ และกะเพราะ มาผสมกันโดยใช้สะดาเป็นสารหลักซึ่งปรากฏว่าสมุนไพรสูตรผสมระหว่าง สะเดา + ข่า + ตะไคร้ + กะเพราะ ในอัตราส่วนสารชนิดละ 25 กรัม รวมเป็นสาร 100 กรัม ต่อน้ำ 2 ลิตร มีประสิทธิภาพในการลดปริมาณเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลได้ถึง 96% โดยไม่มีผลกระทบต่อตัวน้ำและสิ่งแวดล้อม หลังจากนั้น ได้นำสมุนไพรสูตรนี้ไปทดลองจริงในนาที่มีการระบาดของเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลโดยใช้สาร 20 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ โดยฉีดสารสมุนไพรทุก 3 วัน เป็นจำนวน 3 ครั้ง ปรากฏว่าได้ผลผลิตดีกว่านาใกล้เคียงถึง 82%

หัวเรื่อง และคำสำคัญ
ลด,ปริมาณ,เพลี้ยกระโดด,สีน้ำตาล,พืช,สมุนไพร
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
โครงงาน
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
โรงเรียนนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์
วันที่เสร็จ
วันพฤหัสบดี, 01 มกราคม 2541
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
นายสมรัฐ เชตนุช, นายเมธี กลิ่นอุบล, น.ส.ธนิษฐา รุ่งรังสี, น.ส.ธนัฒพร รัศมีทธิ์
ระดับชั้น
ม.4
ม.5
ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
  • 6613 การลดปริมาณเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลโดยใช้พืชสมุนไพร /project-biology/item/6613-2016-09-09-03-51-55-6613
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    Average rating
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

คุณอาจจะสนใจ
ผลของสนามแม่เหล็กภายนอกต่อสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน
ผลของสนามแม่เหล็กภายนอกต่อสเปกตรัมของอะต...
Hits ฮิต (73504)
ให้คะแนน
อะตอมไฮโดรเจนเป็นอะตอมพื้นฐาน การศึกษาโครงสร้างของอะตอมไฮโดรเจนจะช่วยให้เราสามารถเข้าใจโครงสร้างของ ...
ระบบบันทึกประวัติศาสตร์แบบเปิดเสรี Wikihistoria
ระบบบันทึกประวัติศาสตร์แบบเปิดเสรี Wikih...
Hits ฮิต (78650)
ให้คะแนน
ระบบบันทึกประวัติศาสตร์แบบเปิดเสรี เป็นเว็บแอ็พพลิเคชั่นช่วยให้คนไทยสามารถจดบันทึกและตรวจสอบประวัติ ...
ซิ่งฟัดแว้น ณ ภูกระดึง Siam Running @ Phukradung
ซิ่งฟัดแว้น ณ ภูกระดึง Siam Running @ Ph...
Hits ฮิต (80600)
ให้คะแนน
เกมเป็นส่วนหนึ่งที่เติบโตมาพร้อมกับคอมพิวเตอร์ เหตุผลที่เกมส์ได้รับความนิยมมาก เนื่องจากสามารถให้คว ...
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. Privacy. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)