logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • คำถามที่พบบ่อย
  • สมัครสมาชิก
  • Forgot your password?
ค้นหา
    
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ

ผลของฮอร์โมนเร่งรากจากวัชพืชในท้องถิ่น

ชื่อผู้ทำโครงงาน
นางสาวน้ำอ้อย ทองชมพู, นางสาวพรรณพร วิไลพันธ์, นางสาวปิยะนุช ฮามคำไพ, นายกิรติ ศรีปัดถา
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
นายสถิต ศรีมงคล, นายสำเภา จันหาญ
สถาบันการศึกษา
โรงเรียนสารคามพิทยาคม จังหวัดมหาสารคาม เขตการศึกษา 10
รางวัลที่ได้รับ
-
ระดับชั้น
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ
หมวดวิชา
ชีววิทยา
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
ผลของฮอร์โมนเร่งรากจากวัชพืชในท้องถิ่น รูปภาพ 1
บทคัดย่อ

การศึกษาผลในการเร่งการเกิดรากของกิ่งชำเทียนทอง เมื่อทดลองกับสารละลายที่สกัดจากยอดวัชพืชที่พบมากในท้องถิ่น 2 ชนิด คือ สารเสือ และผักโขม ที่ระดับความเข้มข้น 100, 200, 300 และ 400 กรัมต่อลิตร พบว่าอัตราการเกิดรากของกิ่งชำเทียนทองที่ทดลองกับสารละลายจากยอดสาบเสือ มีค่าเฉลี่ยจำนวนราก 4.4, 10.3, 13.8 และ 2.8 รากต่อกิ่งตามลำดับ และอัตราการเกิดรากของกิ่งเทียนทองที่ทดลองกับสารละลายจากยอดผักโขม มีค่าเฉลี่ยจำนวนราก 7.6, 10.9, 5.6 และ 0.8 รากต่อกิ่งตามลำดับ ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่าอัตราการเกิดรากของกิ่งชำที่ทดลองในสารละลายของยอดวัชพืชที่ความเข้มข้นระดับต่างๆ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ และผลจากการชั่งน้ำหนักรากของกิ่งชำเทียนทอง เมื่อทดลองกับสารละลายจากยอดวัชพืชเข้มข้น 100, 200, 300 และ 400 กรัมต่อลิตร พบว่าน้ำหนักรากของกิ่งชำเมื่อทดลองกับสารละลายจากยอดสาบเสือ มีค่าเฉลี่ย 0.210, 0.452, 0.519 และ 0.168 กรัมตามลำดับ สำหรับน้ำหนักรากกิ่งเมื่อทดลองกับสารละลายจากยอดผักโขมมีค่าเฉลี่ย 0.288, 0.444, 0.262 และ 0.073 กรัมตามลำดับ ผลจากการวิเคราะห์พบว่า น้ำหนักรากของกิ่งชำเมื่อทดลองในสารละลายจากยอดวัชพืชที่มีความเข้มข้นระดับต่างๆ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ จากการเปรียบเทียบผลการทดลองพบว่าที่ความเข้มข้นของสารละลาย 100 และ 200 กรัมต่อลิตร อัตราการเกิดรากเมื่อทดลองในสารละลายจากยอดผักโขม จะมากกว่าจากยอดสาบเสือ แต่ถ้าสารละลายมีความเข้มข้น 300 และ 400 กรัมต่อลิตร การเกิดรากในสารละลายจากยอดสาบเสือจะมากกว่าจากยอดผักโขม

หัวเรื่อง และคำสำคัญ
ฮอร์โมน,เร่ง,ราก,วัชพืช,ท้องถิ่น
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
โครงงาน
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
โรงเรียนสารคามพิทยาคม จังหวัดมหาสารคาม เขตการศึกษา 10
วันที่เสร็จ
วันพฤหัสบดี, 01 มกราคม 2541
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
นางสาวน้ำอ้อย ทองชมพู, นางสาวพรรณพร วิไลพันธ์, นางสาวปิยะนุช ฮามคำไพ, นายกิรติ ศรีปัดถา
ระดับชั้น
ม.4
ม.5
ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
  • 6568 ผลของฮอร์โมนเร่งรากจากวัชพืชในท้องถิ่น /project-biology/item/6568-2016-09-09-03-51-41-6568
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    Average rating
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

คุณอาจจะสนใจ
ผลของ codon usage ต่อการแสดงออกของเอนไซม์ plasmepsin ll ในระ ...
ผลของ codon usage ต่อการแสดงออกของเอนไซม...
Hits ฮิต (76942)
ให้คะแนน
Plasmepsin ll เป็นเอนไซม์ในกลุ่ม aspartic proteases ของ Plasmodium falciparum ซึ่งเป็นเชื้อปรสิตที่ ...
การทดสอบฤทธิ์และการศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของเปลือกผลสารภี
การทดสอบฤทธิ์และการศึกษาองค์ประกอบทางเคม...
Hits ฮิต (72440)
ให้คะแนน
การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของส่วนสกัด BuOH ของเปลือกผลสารภี (Mammea siamensis) ;วงศ์ guttiferrae ซึ่ ...
แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของการดิสชาร์จไฟฟ้าที่ความดันใกล้บรรยาก ...
แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของการดิสชาร์จไฟฟ้า...
Hits ฮิต (73154)
ให้คะแนน
โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำการศึกษาแบบจำลองของการดิสชาร์จไฟฟ้ากระแสตรงที่ความดันใกล้บรรยากาศโดย ...
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. Privacy. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)