logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • คำถามที่พบบ่อย
  • สมัครสมาชิก
  • Forgot your password?
ค้นหา
    
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ

การศึกษาฤทธิ์ฆ่าอะแคนทามีบาของสารสกัดจากเชื้อราเอนโดไฟต์ในหลอดทดลอง

ชื่อผู้ทำโครงงาน
วันกุศล ชนะสิทธิ์และนฤมล บุญมั่น
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
สุเทพ ไวยครุฑธาและอารยา ชูสัตยานนท์
สถาบันการศึกษา
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
รางวัลที่ได้รับ
-
ระดับชั้น
ปริญญาโทขึ้นไป
หมวดวิชา
ชีววิทยา
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
การศึกษาฤทธิ์ฆ่าอะแคนทามีบาของสารสกัดจากเชื้อราเอนโดไฟต์ในหล ... รูปภาพ 1
บทคัดย่อ

อะมีบาฉวยโอกาสที่ดำรงชีวิตอิสระในจีนัสอะแคนทามีบาเป็นสาเหตุของโรคกระจกตาดำอักเสบรุนแรงในคนปกติ โดยมักมีความเกี่ยวเนื่องกับการใช้เลนส์สัมผัสอย่างไม่ถูกวิธี เชื้อนี้ยังก่อโรคสมองอักเสบแบบแกรนูโลมาตัสในคนที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่องอีกด้วย เมื่อไม่นานมานี้ได้มีรายงานพบการดื้อยาของอะแคนทามีบาบางสายพันธุ์ ทำให้มีความจำเป็นต้องค้นหายาต้านอะแคนทามีบาชนิดใหม่ จุลชีพเอนโดไฟต์ได้แก่ รา, แบคทีเรียและ Actinomycetes ที่อาศัยอยู่ในเนื้อเยื่อพืชได้ก่อให้เกิดความหวังใหม่ขึ้น เนื่องจากเมแทบอไลต์ทุติยภูมิของจุลชีพดังกล่าวมีผลกระทบต่อเชื้อโรคหลายชนิด เช่น ไวรัส แบคทีเรีย ราและแมลง ในงานวิจัยนี้ มีการนำส่วนที่ฆ่าอะมีบาได้( TLAU 3 YES amoebicidal fractions, TAF)ของสารสกัดจาก TLAU 3 YES ซึ่งเป็นเอนโดไฟต์ที่แยกจากสมุนไพรไทยมาศึกษากระบวนการต้านอะแคนทามีบาในหลอดทดลอง พบว่าเป้าหมายของ TAF คือ คอนแทรคไทล์แวคคิวโอลของโทรโฟซอยต์ มีการชักนำให้เกิดการสร้างคอนแทรคไทล์แวคคิวโอลขนาดใหญ่(LCV)ซึ่งนำไปสู่การบวมและแตกของเซลล์ เป็นไปได้ว่าผลกระทบของTAF ที่ฆ่าเซลล์ดังกล่าวเกิดจากการออกฤทธิ์ยับยั้งการรวมตัวระหว่างคอนแทรคไทล์แวคคิวโอลกับเยื่อหุ้มเซลล์ มีผลทำให้เกิดการคั่งของน้ำภายในแวคคิวโอล ส่วนของสารสกัดจากราเอนโดไฟต์ดังกล่าว(TAF) มีแนวโน้มที่จะกลายเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่จากธรรมชาติที่มีฤทธิ์ฆ่าอะแคนทามีบาได้ -------------------------------------------------------------------------------------- Free –living opportunistic amoeba of the genus Acanthamoeba are the causative agents of severe amoebic keratitis in healthy individuals. It is frequently associated with inappropriately use of contact lenses. The organisms also cause granulomatous amoebic encephalitis in immunocompromised persons. Recently, drug resistance in some Acanthamoeba strains has been reported. It is therefore necessary to search for new anti-acanthamoebal agents. Endophytic microorganisms including fungi, bacteria and actinomycetes which reside in plant tissues have provided a new hope since their secondary metabolites are effective against several pathogens such as viruses, bacteria, fungi and insects. In this research, TLAU 3 YES amoebicidal extracted fractions (TAF) of an endophytic fungi originally isolated from Thai medicinal herb, was studied for their anti-acanthamoebal mechanisms in vitro. Contractile vacuoles (CV) of the trophozoites appeared to be the target of TAF. The fractions induced large contractile vacuole (LCV) formation and cytolysis. It is possible that the cytocidal effect of TAF is due to an inhibition of the fusion between CV and plasma membrane and lead to a retention of water within the vacuoles. This endophytic fungus extracted fractions (TAF), accordingly, tends to be the effective novel natural product with acanthamoebicidal activities.

หัวเรื่อง และคำสำคัญ
ฤทธิ์,ฆ่า,อะแคนทามีบา,สาร,สกัด,เชื้อรา,เอนโดไฟต์,หลอดทดลอง
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
โครงงาน
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วันที่เสร็จ
วันพฤหัสบดี, 01 มกราคม 2541
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
แวฮัสเมาะห์ มาม
ระดับชั้น
ม.4
ม.5
ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
  • 6386 การศึกษาฤทธิ์ฆ่าอะแคนทามีบาของสารสกัดจากเชื้อราเอนโดไฟต์ในหลอดทดลอง /project-biology/item/6386-2016-09-09-03-49-29-6386
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    Average rating
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

คุณอาจจะสนใจ
Determination of Benzoic acid and Sorbic acid in Food by Hig ...
Determination of Benzoic acid and Sorbic...
Hits ฮิต (72395)
ให้คะแนน
This research determining benzoic acid and sorbic acid in food by high performance liquid chromatog ...
ระบบงานเพื่อการจัดการงานทะเบียนโรงเรียนเทคนิคพณิชยการยะลา
ระบบงานเพื่อการจัดการงานทะเบียนโรงเรียนเ...
Hits ฮิต (76317)
ให้คะแนน
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ และออกแบบพัฒนาระบบงานเพื่อการจัดการงานทะเบียนโรงเรียนเ ...
เกมฮีโร่กู้โลก
เกมฮีโร่กู้โลก
Hits ฮิต (70959)
ให้คะแนน
เกมฮีโร่กู้โลก จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบถึงสาเหตุของภาวะโลกร้อน นั่นคือการที่มนุษย์เผา ...
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. Privacy. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)