logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • คำถามที่พบบ่อย
  • สมัครสมาชิก
  • Forgot your password?
ค้นหา
    
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ

การเสนอผลงานวิจัย เรื่อง การศึกษาผลเบื้องต้นของสารสกัดจากเล็บมือนาง และสารสังเคราะห์ Arecoline ต่อพยาธิใบไม้ตับโค Fasciola gigantica

ชื่อผู้ทำโครงงาน
นางสาวเพ็ญประภา ฤทธิรงค์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
รศ.ดร.ดวงเดือน ไกรลาศ
สถาบันการศึกษา
คณะวิทยาศาสตร์ วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์
รางวัลที่ได้รับ
-
ระดับชั้น
ปริญญาโทขึ้นไป
หมวดวิชา
ชีววิทยา
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
การเสนอผลงานวิจัย เรื่อง การศึกษาผลเบื้องต้นของสารสกัดจากเล็ ... รูปภาพ 1
บทคัดย่อ

โรคพยาธิใบไม้ในตับของโค และกระบือ (Fasciolosis) ในประเทศไทย เกิดจากพยาธิใบไม้ชนิด Fasciola gigantica ก่อให้เกิดความสูญเสียกับการปศุสัตว์ของประเทศอย่างมาก การศึกษาผลเบื้องต้นของสารสกัดจากเล็บมือนาง และสารสังเคราะห์ Arecoline เพื่อตรวจสอบความสามารถในการเคลื่อนไหวและการเปลี่ยนแปลงผนังลำตัวของพยาธิใบไม้ตับชนิด Fasciola gigantica ทำการเลี้ยงพยาธิภายใน 5% CO2 ที่อุณหภูมิ 37o C โดยใช้อาหาร RPMI-1640 การเตรียมสารสกัดเล็บมือนาง และสารสังเคราะห์ Arecoline ได้ละลายในสาร Dimethylsulfoxide (DMSO) 200 μl/ml ตรวจสอบการเคลื่อนไหวของพยาธิ ที่เวลา 0.5, 1, 3, 12 และ 24 ชั่วโมง โดยบันทึกผลแบ่งระดับการเคลื่อนไหวของพยาธิเป็น3 ระดับคือ เคลื่อนไหวได้ดี เคลื่อนไหวได้เพียงบางส่วนของร่างกาย และไม่เคลื่อนไหว และนำพยาธิไปตรวจสอบสภาพผิวลำตัวด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (SEM) พบว่าพยาธิในกลุ่มควบคุม ได้แก่ กลุ่มที่เลี้ยงด้วยอาหาร RPMI-1640 และที่เลี้ยงด้วยอาหาร RPMI-1640 ที่มีสาร Dimethylsulfoxide (DMSO) มีการเคลื่อนไหวได้ดี 73.33% และ 60% ตามลำดับ พยาธิที่เลี้ยงใน RPMI-1640 ที่มีสารสังเคราะห์ Arecoline ความเข้มข้น100 และ 200 µg/ml ไม่เคลื่อนไหว 60% และ 66.67% ส่วนพยาธิที่เลี้ยงใน RPMI-1640 ที่มีสารสกัดเล็บมือนาง ความเข้มข้น100 µg/ml มีการเคลื่อนไหวได้ดี 66.67% และ 200 µg/ml มีการเคลื่อนไหวได้เพียงบางส่วนของร่างกาย 60% เมื่อศึกษาผนังลำตัวของพยาธิพบว่าพยาธิที่เลี้ยงในกลุ่มควบคุมมีผิวเป็นปกติ และผนังลำตัวของพยาธิในกลุ่มที่มี Arecoline มีลักษณะเป็นรูพรุน ----------------------------------------------------------------------------------------------- Fasciolosis, a disease caused by the liver fluke of Fasciola gigantica is a economic problem in Thailand. Preliminary studies on the effect of Quisqualis Indica Linn. and arecoline on worm motility and the tegument of Fasciola gigantica were studied. The flukes were kept in RPMI-1640 medium, incubated 5% CO2 at 37o C. Quisqualis Indica Linn. and Arecoline were initially prepared as a stock solution in Dimethylsulfoxide (DMSO) 200 μl/ml . The flukes were investigated after 0.5, 1, 3, 12 and 24 hours incubation by monitoring worm motility. The motility was scored using following criteria : moving whole body, moving only parts of body and immobile. The tegumental changes was studied by using scanning electron microscopy (SEM). The control groups (RPMI-1640 and RPMI-1640 + DMSO) remained active , with whole body movement were 73.33% and 60%, respectively. In the treated groups Arecoline 100 and 200 µg/ml were immobile 60% and 66.67%, respectively. The experimental flukes in 100 µg/ml Quisqualis indica moved whole body 66.67% and in 200 µg/ml Quisqualis indica moved only parts of body 60%. The tegument of worms showed normally in the control groups. For the Arecoline treated groups, the tegument of F. gigantica showed disruption and vacuolization.

หัวเรื่อง และคำสำคัญ
สาร,สกัด,เล็บมือนาง,สังเคราะห์,Arecoline,พยาธิ,ใบไม้ตับ,Fasciola,gigantica
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
โครงงาน
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
คณะวิทยาศาสตร์ วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์
วันที่เสร็จ
วันพฤหัสบดี, 01 มกราคม 2541
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
นางสาวเพ็ญประภา ฤทธิรงค์
ระดับชั้น
ม.4
ม.5
ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
  • 6371 การเสนอผลงานวิจัย เรื่อง การศึกษาผลเบื้องต้นของสารสกัดจากเล็บมือนาง และสารสังเคราะห์ Arecoline ต่อพยาธิใบไม้ตับโค Fasciola gigantica /project-biology/item/6371-arecoline-fasciola-gigantica
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    Average rating
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

คุณอาจจะสนใจ
A Study of Thermoelectrice Power Generation
A Study of Thermoelectrice Power Gen...
Hits ฮิต (74894)
ให้คะแนน
This research studies about potentiality in producing electricity of thermoelectric power generatio ...
การจัดการข้อมูล ( ระบบเครือข่ายภายใน )กรณีศึกษา กองพลทหารราบ ...
การจัดการข้อมูล ( ระบบเครือข่ายภายใน )กร...
Hits ฮิต (74278)
ให้คะแนน
จากการศึกษาการจัดการข้อมูลระบบของกองพลทหารราบที่ ๙ มีการทำงานทางด้านเอกสารเป็นสำคัญ ซึ่งยุ่งยากต่อก ...
การศึกษามุมมองอาชีพของนิสิตคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
การศึกษามุมมองอาชีพของนิสิตคณะวิทยาศาสตร...
Hits ฮิต (75173)
ให้คะแนน
จากการศึกษามุมมองอาชีพของนิสิตคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 ด้าน คือ ด้านความคาดหวังทางอาชีพ ด ...
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. Privacy. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)