logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • คำถามที่พบบ่อย
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

  • คำถามที่พบบ่อย
  • สมัครสมาชิก
  • Forgot your password?
ค้นหา
    
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ

การพัฒนาระบบการนำส่งยีนโดยใช้ Agrobacterium tumefaciens สู่ ใบยาสูบ (Nicotiana tobaccum) และ ผำน้ำ (Wolffia globosa)

ชื่อผู้ทำโครงงาน
นาย เฉลิมชัย อาจประดิษฐ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
ดร.ปัญจภัทร โสจิกุล
สถาบันการศึกษา
ภาควิชา เทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
รางวัลที่ได้รับ
-
ระดับชั้น
ปริญญาโทขึ้นไป
หมวดวิชา
ชีววิทยา
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
การพัฒนาระบบการนำส่งยีนโดยใช้ Agrobacterium tumefaciens สู่  ... รูปภาพ 1
บทคัดย่อ

วิธีการที่ใช้สำหรับนำส่งยีนสู่พืช โดยใช้ Agrobacterium tumefaciens ในการช่วยถ่ายยีน ซึ่งในการใช้ agrobacterium ก็มีข้อจำกัดคือ ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนพืชเจ้าบ้านจะต้องทำการทดสอบหาระบบที่เหมาะสมในการนำส่งยีน ดังนั้นในงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการนำส่งยีนเพื่อเป็นระบบมาตรฐานในการนำส่งยีนเข้าสู่พืชเจ้าบ้านต้นแบบคือ ผำน้ำ (Wolffia globosa) และยาสูบ(Nicotiana tobaccum) โดยขั้นต้นทำการหาความเข้มข้นของยาปฏิชีวนะเพื่อเป็น Selectable marker โดยพบว่าความเข้มข้นที่เหมาะสมคือ Kanamycin ที่ 40 mg/l และ 10 mg/l hygromycin ที่40 mg/l และ 7.5 mg/l สำหรับ tobacco และผำตามลำดับ และความเข้มข้นของยาปฏิชีวนะ Cefataxime ที่ใช้ในการทำลาย คือ 300 และ 250 mg/l สำหรับ tobacco และผำตามลำดับ จากนั้นผู้วิจัยได้เปรียบเทียบประสิทธิภาพของสายพันธุ์ของ agrobacterium คือ LBA4404, EHA105,C58PMP90, และ GV2260 โดยผลการทดลองจะทำการอภิปรายภายหลัง --------------------------------------------------------------------------------------- One of the most powerful way is Agrobacterium tumefaciense mediated transformation. However, when the gene will be transfoemed into any new host plants, transformation protocols have to be validateed. This project was propose to validate the system for Nicotiana tobaccum cultivar Petit Havana (tobacco) and Wolffia globosa (kai-nam) gene transformation by using agrobacterium.These systems would be used as standard systems for future use. antibiotics concentrations in plant culture media for selectable markers (kanamycin and hygromycin) and for elimination of agrobacterium after transformation (Cefataxime), the results showed that in tobacco,kanamycin at 40 mg/l and hygromycin at 40 mg/l of COM media were suitable concentrations for selection. Cefataxime at 300 mg/l was suitable cocentrations for agrobacterium elimination. Whereas, in wolffia, kanamycin at 10 mg/l and hygromycin at 7.5 mg/l were effective concentration for selection, and cefataxime at 250 mg/l was efficient to eliminate agrobacterium. 2. Comparison of transformation efficiency by various agrobacterium strains; LBA4404, AGLO, C58PMP90, and GV2260. The results in this part will be discuss further.

หัวเรื่อง และคำสำคัญ
ยีน,Agrobacterium,tumefaciens,ใบยาสูบ,ผำน้ำ
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
โครงงาน
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
ภาควิชา เทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
วันที่เสร็จ
วันพฤหัสบดี, 01 มกราคม 2541
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
นาย เฉลิมชัย อาจประดิษฐ์
ระดับชั้น
ม.4
ม.5
ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
  • 6344 การพัฒนาระบบการนำส่งยีนโดยใช้ Agrobacterium tumefaciens สู่ ใบยาสูบ (Nicotiana tobaccum) และ ผำน้ำ (Wolffia globosa) /project-biology/item/6344-agrobacterium-tumefaciens-nicotiana-tobaccum-wolffia-globosa
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    Average rating
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

คุณอาจจะสนใจ
การศึกษา Physical Organic Chemistry และสังเคราะห์สารจำพวก ³  ...
การศึกษา Physical Organic Chemistry และส...
Hits ฮิต (77275)
ให้คะแนน
การสังเคราะห์สารจำพวก γ – Alkyl – β – cerbomethoxy – α – methyl – γ – butyrolactones โดยใช้ปฏิกิริย ...
ไซเบอร์เนติก เรฟโวลูชัน
ไซเบอร์เนติก เรฟโวลูชัน
Hits ฮิต (88129)
ให้คะแนน
เนื่องจากปัจจุบัน เกมการ์ดในคอมพิวเตอร์มักจะมีรูปแบบการควบคุมที่ใช้เพียงเมาส์ และคีย์บอร์ด ซึ่งไม่ม ...
การศึกษาพฤติกรรม และศักยภาพในการเป็นพาหะนำโรคพยาธิหัวใจสุนัข ...
การศึกษาพฤติกรรม และศักยภาพในการเป็นพาหะ...
Hits ฮิต (78150)
ให้คะแนน
เนื่องด้วยในขณะนี้โรคพยาธิหัวใจสุนัข (Canine Heartworm Disease) กำลังเป็นปัญหาสำคัญของวงการสัตวแพทย ...
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. Privacy. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)