Table of Contents Table of Contents
Previous Page  145 / 284 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 145 / 284 Next Page
Page Background

ตัวอย่างแคแทบอลิซึม

ตัวอย่างแอแนบอลิซึม

การสลายพอลิแซ็กคาไรด์

การสังเคราะห์แป้งและไกลโคเจน

การสลายโปรตีน

การสังเคราะห์โปรตีน

การสลายลิพิด

การสังเคราะห์ลิพิด

การสลายกรดนิวคลิอิก

การสังเคราะห์ DNA และ RNA

จากนั้นครูอาจใช้รูป 2.49 และ 2.50 เพื่ออธิบายเพิ่มเติมว่าปฏิกิริยาเคมีในสิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่

จะเกิดแบบวิถีเมแทบอลิซึมและมีกลไกที่คอยควบคุมวิถีเมแทบอลิซึมต่างๆ ในสิ่งมีชีวิต และให้นักเรียน

ตอบคำ�ถามในหนังสือเรียน ซึ่งมีแนวในการตอบดังนี้

รูปแบบการยับยั้งดังแสดงในรูป 2.50 ส่งผลดีต่อเซลล์อย่างไร

การยับยั้งแบบย้อนกลับทำ�ให้เซลล์ไม่สร้างหรือสลายสารต่าง ๆ อย่างสิ้นเปลืองและเกิน

ความจำ�เป็นของเซลล์ในขณะนั้น

จากนั้นครูอธิบายเกี่ยวกับการใช้ตัวยับยั้งเอนไซม์ในการศึกษาลำ�ดับของปฏิกิริยาเคมีในวิถี

เมแทบอลิซึม และให้นักเรียนตอบคำ�ถามในกรณีศึกษา ซึ่งมีแนวในการตอบดังนี้

สมมติให้วิถีเมแทบอลิซึมหนึ่งมี 3 ขั้นตอน โดยมีเอนไซม์ E

1

E

2

และ E

3

เกี่ยวข้องใน

วิถีเมแทบอลิซิมนี้ มีสาร A เป็นสารตั้งต้น มีสาร B และ C เกิดขึ้นระหว่างวิถีเมแทบอลิซึม และ

มีสาร D เป็นสารผลิตภัณฑ์สุดท้าย

เมื่อทำ�การทดลองเพื่อหาลำ�ดับของปฏิกิริยาต่างๆ ในวิถีเมแทบอลิซึมนี้ ได้เติมตัวยับยั้งเอนไซม์

แต่ละชนิด ได้ผลการทดลองดังแสดงในกราฟด้านล่างนี้

กรณีศึกษา

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 2 | เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต

ชีววิทยา เล่ม 1

133