Table of Contents Table of Contents
Previous Page  70 / 254 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 70 / 254 Next Page
Page Background

ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปเกี่ยวกับหน้าที่ของโครงสร้างและอวัยวะในทางเดิน

หายใจซึ่งประกอบด้วยรูจมูก โพรงจมูก คอหอย กล่องเสียง ท่อลม หลอดลม หลอดลมฝอย และถุงลม

ในปอด จากนั้นครูอธิบายเกี่ยวกับลักษณะสำ�คัญของโครงสร้างของถุงลมที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส

ซึ่งมีผนังบาง มีความชื้นสูง มีหลอดเลือดฝอยห่อหุ้ม มีพื้นที่ผิวมาก ครูอาจอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับ

อัตราส่วนของพื้นที่ผิวต่อปริมาตรที่มีผลกับการแลกเปลี่ยนแก๊ส โดยเปรียบเทียบระหว่างถุงลมในคน

ปกติและถุงลมของผู้ป่วยที่เป็นโรคถุงลมโป่งพองจากกรณีศึกษา

สารจะแพร่เข้าและออกจากเซลล์ได้ดีกว่าเมื่ออัตราส่วนของพื้นที่ผิวต่อปริมาตรมีค่าสูงกว่า

ถ้าถุงลม A มีรัศมี 0.1 มิลลิเมตร และถุงลม B มีรัศมี 0.3 มิลลิเมตร จงเปรียบเทียบอัตราส่วน

ของพื้นที่ผิวต่อปริมาตรของถุงลม A และ B

ถุงลมBที่มีขนาดใหญ่กว่า มีอัตราส่วนของพื้นที่ผิวต่อปริมาตรน้อยกว่าถุงลมAที่มีขนาดเล็กกว่า

แนวการคิด

ถุงลมมีรูปทรงค่อนข้างกลมสามารถหาพื้นที่ผิวและปริมาตรได้ดังนี้

ถุงลม A

พื้นที่ผิว = 4 πr

2

= 4 × 3.14 × 0.1

2

= 0.1256 mm

2

ปริมาตร =

4

3

πr

3

=

4

3

× 3.14 × 0.1

3

= 0.0042 mm

3

ดังนั้น อัตราส่วนของพื้นที่ผิวต่อปริมาตรของถุงลม A =

0.1256

0.0042

= 30 : 1

ถุงลม B

พื้นที่ผิว = 4 πr

2

= 4 × 3.14 × 0.3

2

= 1.1304 mm

2

ปริมาตร =

4

3

πr

3

=

4

3

× 3.14 × 0.3

3

= 0.1130 mm

3

ดังนั้น อัตราส่วนของพื้นที่ผิวต่อปริมาตรของถุงลม A =

1.1304

0.1130

= 10 : 1

ชวนคิด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 14 | ระบบหายใจ

ชีววิทยา เล่ม 4

58