คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 4

3.3 2Br - (aq) + Cl₂(aq) Br₂(aq) + 2Cl - (aq) ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน 2Br - (aq) Br 2 (aq) + 2e - ครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน Cl 2 (aq) + 2e - 2Cl - (aq) ตัวรีดิวซ์ คือ Br - (aq) และ ตัวออกซิไดส์ คือ Cl 2 (aq) 4. เขียนสมการแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นจากข้อความต่อไปนี้ และพิจารณาว่าเป็นปฏิกิริยา รีดอกซ์หรือไม่ เพราะเหตุใด 4.1 ผสมสารละลายเลด(II)ไนเทรต (Pb(NO 3 ) 2 ) กับสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์ (KI) เกิดตะกอนสีเหลือง Pb(NO 3 ) 2 (aq) + 2KI(aq) PbI 2 (s) + 2KNO 3 (aq) หรือ Pb 2+ (aq) + 2I - (aq) PbI 2 (s) เลขออกซิเดชัน (+2) (-1) (+2)(-1) ดังนั้น ปฏิกิริยานี้ไม่เป็นปฏิกิริยารีดอกซ์ เนื่องจากเลขออกซิเดชันของสาร ไม่เปลี่ยนแปลง 4.2 จุ่มลวดแมกนีเซียม (Mg) ลงในสารละลายซิงค์ซัลเฟต (ZnSO 4 ) เกิดสารสีเทาเงิน ที่ลวดแมกนีเซียมตรงบริเวณที่จุ่มในสารละลาย เมื่อเคาะสารสีเทาเงินออกพบว่า ลวดแมกนีเซียมกร่อนไป Mg(s) + ZnSO 4 (aq) MgSO 4 (aq) + Zn(s) หรือ Mg(s) + Zn 2+ (aq) Mg 2+ (aq) + Zn(s) เลขออกซิเดชัน (0) (+2) (+2) (0) ดังนั้น ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยารีดอกซ์ เนื่องจากเลขออกซิเดชันของสารเปลี่ยนแปลง 5. โลหะแมกนีเซียม (Mg) ทำ�ปฏิกิริยากับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) และสารละลาย ซิงค์ซัลเฟต (ZnSO 4 ) ส่วนโลหะสังกะสี (Zn) ทำ�ปฏิกิริยากับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) แต่ไม่ทำ�ปฏิกิริยากับสารละลายแมกนีเซียมซัลเฟต (MgSO 4 ) 5.1 เขียนสมการแสดงปฏิกิริยารีดอกซ์ที่เกิดขึ้น Mg(s) + 2H + (aq) Mg 2+ (aq) + H 2 (g) Mg(s) + Zn 2+ (aq) Mg 2+ (aq) + Zn(s) Zn(s) + 2H + (aq) Zn 2+ (aq) + H 2 (g) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 11 | เคมีไฟฟ้า เคมี เล่ม 4 140

RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4