คู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

การวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ ชนิดของสารอาหารที่พืชสังเคราะห์ได้ ด้านทักษะ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1. การสังเกต 2. การวัด 3. การจำ�แนกประเภท 4. การลงความเห็นจากข้อมูล 5. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 1. การสื่อสารสารเทศและการรู้เท่าทันสื่อ 2. การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา 3. ความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีมและภาวะผู้นำ� ด้านจิตวิทยาศาสตร์ 1. ความอยากรู้อยากเห็น 2. ความเชื่อมั่นต่อหลักฐานเชิงประจักษ์ 3. การใช้วิจารณญาณ 4. ความรอบคอบ 5. ความใจกว้าง 6. การยอมรับความเห็นต่าง 7. ความซื่อสัตย์ 8. ความมุ่งมั่นอดทน 9. วัตถุวิสัย 1. นำ�เข้าสู่บทเรียนเกี่ยวกับความสำ�คัญของพืชในการเป็นแหล่งสร้างอาหาร ที่สำ�คัญและเป็นแหล่งกำ�เนิดของปัจจัยสี่เพื่อการดำ�รงชีวิตของมนุษย์ โดยใช้ตัวอย่างคำ�ถามดังนี้ - ปัจจัยสี่ในการดำ�รงชีวิตของมนุษย์ได้แก่อะไรบ้าง และมาจากแหล่งใด 2. ครูนำ�ตัวอย่างพืช หรือมอบหมายให้นักเรียนนำ�ผลผลิตของพืช เช่น เมล็ดข้าว เมล็ดถั่วลิสง เมล็ดทานตะวัน ผลปาล์ม เผือก มันเทศ ฯลฯ ที่ให้ สารอาหารประเภทที่ให้พลังงาน ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน มาคนละ 1 อย่าง แล้วให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้ตัวอย่างคำ�ถามดังนี้ - พืชเหล่านี้ให้สารอาหารประเภทใดได้บ้าง - พืชเหล่านี้สร้างสารอาหารโดยวิธีการใด 3. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มทำ�กิจกรรมเกี่ยวกับการทดสอบสารอาหารประเภทที่ ให้พลังงานที่พืชสังเคราะห์ได้ โดยเลือกชนิดของพืชหรือผลผลิตของพืช ที่ไม่ซ้ำ�กัน แล้วทดสอบสารอาหาร ดังนี้ คาร์โบไฮเดรต (แป้ง และน้ำ�ตาล) โปรตีน และไขมัน (หรือน้ำ�มัน) 4. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำ�เสนอผลการทำ�กิจกรรม 5. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการทดสอบสารอาหารที่พืชสังเคราะห์ขึ้น ด้านความรู้ ความรู้เกี่ยวกับเรื่องการทดสอบสารอาหารประเภท ที่ให้พลังงานและบอกชนิดของสารอาหารที่พืช สังเคราะห์ได้จากการอภิปราย การสืบค้นข้อมูล ทำ�กิจกรรมกลุ่ม การตอบคำ�ถาม การทำ�แบบฝึกหัด และแบบทดสอบ ด้านทักษะ 1. การสังเกต การวัด การจำ�แนกประเภท การลงความ เห็นจากข้อมูล การตีความหมายข้อมูลและลง ข้อสรุป จากการทำ�กิจกรรม การอธิบาย และการ ตอบคำ�ถาม 2. การสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ จากการ สืบค้นข้อมูล และการนำ�เสนอข้อมูล 3. การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา จากการทดสอบสารอาหาร วิเคราะห์และสรุปได้ อย่างมีเหตุผล และนำ�เสนอข้อมูลได้ถูกต้อง 4. ความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีมและภาวะผู้นำ� จากการทำ�กิจกรรมกลุ่ม ด้านจิตวิทยาศาสตร์ 1. ความอยากรู้อยากเห็น และความเชื่อมั่นต่อหลักฐาน เชิงประจักษ์ จากการสืบค้นข้อมูล การตอบคำ�ถาม การอภิปราย และการทำ�กิจกรรม ตัวชี้วัด 8. ทดสอบและบอกชนิดของสารอาหารที่พืชสังเคราะห์ได้ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 87

RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4