คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2
3. เมื่อนำ�สารตัวอย่างหินปูน (CaCO 3 ) 1.00 กิโลกรัม มาเผาจะเกิดการสลายตัวอย่างสมบูรณ์ ได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่มีมวลเท่ากับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากการเผาไหม้ แก๊สโพรเพน (C 3 H 8 ) 120 กรัม อย่างสมบูรณ์ ร้อยละโดยมวลของแคลเซียมคาร์บอเนตใน สารตัวอย่างมีค่าเท่าใด สมการเคมีของปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเป็นดังนี้ (สมการเคมียังไม่ดุล) CaCO 3 (s) CaO(s) + CO 2 (g) C 3 H 8 (g) + O 2 (g) CO 2 (g) + H 2 O(g) ขั้นที่ 1 หามวลของ CO 2 จากการเผาไหม้ C 3 H 8 ดุลสมการเคมี C 3 H 8 (g) + 5O 2 (g) 3CO 2 (g) + 4H 2 O(g) มวลของ CO 2 = 120 g C 3 H 8 × × × = 359 g CO 2 ดังนั้น แก๊สโพรเพน 120 กรัม เผาไหม้อย่างสมบูรณ์ เกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 359 กรัม ขั้นที่ 2 หามวลของหินปูนที่ทำ�ให้เกิด CO 2 359 g ดุลสมการเคมี CaCO 3 (s) CaO(s) + CO 2 (g) มวลของ CaCO 3 = 359 g CO 2 × × × = 816 g CaCO 3 ดังนั้น แคลเซียมคาร์บอเนตที่สลายตัวมีมวล 816 กรัม 1 mol C 3 H 8 44.11 g C 3 H 8 1 mol CO 2 44.01 g CO 2 1 mol CO 2 1 mol C 3 H 8 1 mol CaCO 3 1 mol CO 2 44.01 g CO 2 1 mol CO 2 100.09 g CaCO 3 1 mol CaCO 3 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 6 | ปริมาณสัมพันธ์ เคมี เล่ม 2 187
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4