คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 1

84 บทที่ 2 | อะตอมและสมบัติของธาตุ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมีเล่ม 1 ธาตุต่างชนิดกันอาจมีเลขมวลเท่ากันได้ เช่น C กับ N มีเลขมวลเท่ากันคือ 14 2.2 อนุภาคในอะตอมและไอโซโทป จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เขียนและแปลความหมายสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ 2. อธิบายความหมายและยกตัวอย่างไอโซโทปของธาตุ ความเข้าใจคลาดเคลื่อนที่อาจเกิดขึ้น แนวการจัดการเรียนรู้ 1. ครูทบทวนความรู้เดิมว่าจากการทดลองของทอมสันทำ�ให้ทราบว่าอิเล็กตรอนมีประจุ เป็นลบ จากนั้นถามคำ�ถามว่าเมื่อทราบค่าประจุต่อมวลของอิเล็กตรอนแล้วนักวิทยาศาสตร์นำ�ข้อมูล เหล่านั้นมาใช้หาค่าประจุและมวลของอิเล็กตรอนได้อย่างไร​ เพื่อร่วมกันอภิปรายและนำ�นักเรียน เข้าสู่การศึกษาการทดลองของมิลลิแกน โดยครูอาจใช้รูป 2.12 ประกอบการอธิปรายและซักถามจน สรุปได้ว่า อิเล็กตรอนมีประจุ 1.6 × 10 -19 คูลอมบ์ และมีมวล 9.11 × 10 -28 กรัม 2. ครูตั้งคำ�ถามว่า อนุภาคในอะตอมที่เรียนรู้มาแล้วมีอนุภาคใดบ้าง ซึ่งนักเรียนควรตอบได้ ว่า อิเล็กตรอน และอนุภาคที่มีประจุเป็นบวก (นักเรียนอาจทราบคำ�ศัพท์ “โปรตอน” มาแล้วจาก ความเข้าใจคลาดเคลื่อน ธาตุต่างชนิดกันมีเลขมวลต่างกันเสมอ ในการเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ เลขอะตอม อยู่ด้านบน เลขมวลอยู่ด้านล่าง (สับสนกับ ตำ�แหน่งของเลขอะตอมในตารางธาตุ ซึ่งบาง ครั้งแสดงเลขอะตอมไว้ด้านบนของธาตุ) เ ลขที่ปร ากฏ ใ นสัญลักษณ์แบบย่อขอ ง ไอโซโทปคือเลขอะตอม เช่น C-14 เลข 14 คือเลขอะตอม ตามข้อกำ�หนดที่เป็นสากล ในการเขียน สัญลักษณ์นิวเคลียร์เลขอะตอมจะอยู่ด้านล่าง ซ้ายของสัญลักษณ์ธาตุ และเลขมวลอยู่ด้าน บนซ้ายของสัญลักษณ์ธาตุ เ ลขที่ปร ากฏ ใ นสัญลักษณ์แบบย่อขอ ง ไอโซโทปคือเลขมวล เช่น C-14 เลข 14 คือ เลขมวล ความเข้าใจที่ถูกต้อง 14 14 ₆ 7

RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4