คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 4
การคำ�นวณความเข้มข้นของสารแสดงดังตาราง ขั้นที่ 2 คำ�นวณค่า K a ของ HB K a = [H 3 O + ][B - ] [HB] = (0.0040)(0.0040) 0.016 = 0.0010 ดังนั้น HB มีค่าคงที่การแตกตัวของกรด เท่ากับ 0.0010 เมื่อเปรียบเทียบค่าคงที่การแตกตัวของ HA และ HB พบว่า ค่าคงที่การแตกตัวของ HA มากกว่า แสดงว่า HA เป็นกรดที่แรงกว่า HB ความเข้มข้น (mol/L) เริ่มต้น 0.020 - 0 0 เปลี่ยนไป -0.0040 - +0.0040 +0.0040 สมดุล 0.020 – 0.0040 = 0.016 - 0.0040 0.0040 HB(aq) + + H 2 O(l) H 3 O + (aq) B - (aq) 25. ครูให้ความรู้เกี่ยวกับการแตกตัวของน้ำ�และค่าคงที่การแตกตัวของน้ำ� ตามรายละเอียดใน หนังสือเรียน 26. ครูอธิบายความสัมพันธ์ของ K a , K b และ K w และวิธีการคำ�นวณ K a จาก K b ของคู่เบส หรือ K b จาก K a ของคู่กรดตามรายละเอียดในหนังสือเรียน 27. ครูให้นักเรียนพิจารณาข้อมูลในตาราง 10.4 แล้วอภิปรายร่วมกันเพื่อสรุปให้ได้ว่า กรดที่มี ค่า K a สูงกว่าจะมีค่า K b ของคู่เบสต่ำ�กว่า โดยยกตัวอย่างเปรียบเทียบระหว่าง HCOOH และ CH 3 COOH 28. ครูให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 10.3 เพื่อทบทวนความรู้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 10 |กรด-เบส เคมี เล่ม 4 35
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4